การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
ตัวอย่าง SWOT Analysis
ความหมายของการวางแผน
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
เรื่อง นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา เสนอ อาจารย์รุงอรุณ อ่อนสุข จัดทำโดย
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
ฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน กองแผนงาน 15 กุมภาพันธ์ 2553
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
1. แบบ SNRU-ERM 1 แบบแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน (Key Process)
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
HR Way Organization Chart HRM HR Strategy Job Description HR Scorecard
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อ อาจารย์ประจำ ( บาท ) 1. จุดอ่อน 1. อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระ งานรับผิดชอบที่หลากหลาย.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
นโยบายองค์การ Organisation Policy.
Analyzing The Business Case
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
การสร้างวิสัยทัศน์(Vision) ประเด็นยุทธศาสตร์
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
การบริหารความเสี่ยง กับการดำเนินงานห้องสมุด
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
การจัดทำแผนธุรกิจ.
การวิเคราะห์โครงการ (Project Appraisal)
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ การจัดการแผนกลยุทธ์
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
SWOT.
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
Change Management.
การเขียนโครงการ.
บทที่ 5 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
ขั้นตอนในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบริหารงาน ประเภทสหกรณ์บริการ คณะทำงาน 1. นางอรุณี เมืองกาญจน์ ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์ 2. นางรุจิรา ขำพล ตำแหน่ง นักวิชาการสหกรณ์
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี วิทยากรที่ปรึกษา ด้านการพัฒนาการจัดการองค์กร

การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ เป้าหมายการดำเนินการสหกรณ์ ปัญหาที่พบในการดำเนินการ สภาพแวดล้อมในการดำเนินการ กลยุทธ์พื้นฐานในการดำเนินการ ประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริหาร ความเสี่ยง การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ การบริหารความเสี่ยง ความหมาย กระบวนการบริหารความเสี่ยง การกำหนดวัตถุประสงค์ การระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง การติดตามประเมินผลและรายงานความเสี่ยง การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

เป้าหมายการดำเนินการสหกรณ์ เพื่อ 1. กำไรสูงสุด 2. สมาชิกสหกรณ์พึงพอใจ ภายใต้ อุดมการณ์และหลักการสหกรณ์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

ปัญหาที่พบในการดำเนินการ เช่น สมาชิกขาดสภาพคล่องในการชำระหนี้ ต้นทุนในการจัดหาเงินทุนสูง แหล่งเงินทุนมีจำนวนจำกัด สมาชิกใช้เงินผิดวัตถุประสงค์การขอกู้ สมาชิกขาดความรู้ในการบริหารจัดการ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

สมาชิกใช้เงิน ผิดวัตถุประสงค์ การขอกู้ สมาชิกใช้เงิน ผิดวัตถุประสงค์ การขอกู้ สมาชิก ขาดสภาพคล่อง ในการชำระหนี้ สมาชิกมีภาระหนี้สิน มากเกินความสามารถในการชำระหนี้ ผลผลิตทางการเกษตร ไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย สมาชิก ขาดความรู้ ในการบริหารจัดการ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

SWOT ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมภายใน S ( + ) W ( - ) สภาพแวดล้อมภายนอก Strenght = จุดแข็ง Weakness = จุดอ่อน Opportunity = โอกาส Threat = อุปสรรค สภาพแวดล้อมภายใน S ( + ) W ( - ) สภาพแวดล้อมภายนอก O ( + ) T ( - ) การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

สภาพแวดล้อมภายใน พิจารณาทรัพยากร 4 M’s Man = บุคลากร Money = การเงิน Material = อุปกรณ์ Method = วิธีการ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

สภาพแวดล้อมภายนอก พิจารณา PEST Analysis และสิ่งแวดล้อม Politics = การเมือง Economics = เศรษฐกิจ Social = สังคม Technology = เทคโนโลยี Environment = สิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

S W O T การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

กลยุทธ์ STP ประกอบด้วย S : Segmentation = การแบ่งส่วนตลาด T : Targeting = การกำหนดตลาดเป้าหมาย P : Positioning = การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

ประโยชน์ที่จะได้รับจากการบริหารความเสี่ยง 1 . ลดผลกระทบในการดำเนินการเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายของสหกรณ์ 2 . เพิ่มโอกาสในการระดมทุนจากสหกรณ์ นอกภาค และเพิ่มความมั่นใจให้กับ ผู้ลงทุน เนื่องจากการบริหารความเสี่ยง ส่งผลให้ผู้ลงทุนมีความเสี่ยงลดลง การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

ความหมาย ความเสี่ยง ( Risk ) คือ เหตุการณ์หรือ การกระทำใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผลกระทบต่อการบรรลุ เป้าหมายของสหกรณ์ การบริหารความเสี่ยง ( Risk Mangement ) คือ การระบุความเสี่ยงและประเมินความเสี่ยง โดยพิจารณาทั้งโอกาสในการเกิดและผลกระทบ และจัดการความเสี่ยงให้ลดลงด้วยแผนบริหาร ความเสี่ยง รวมทั้งติดตามและประเมินความเสี่ยง ได้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้สหกรณ์บรรลุเป้าหมาย การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

กระบวนการบริหารความเสี่ยง ( Risk Management Process ) 1 กำหนดวัตถุประสงค์ 5 ติดตาม ประเมินผล และรายงานความเสี่ยง 3 ประเมินความเสี่ยง 2 ระบุความเสี่ยง 4 จัดการความเสี่ยง การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

1. การกำหนดวัตถุประสงค์ ต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และทิศทางของ สหกรณ์ ควรใช้หลัก SMART (ชัด-วัด-ปฏิบัติ-สม-เวลา) Specific = ชัดเจน Measurable = วัดได้ Achievable = ปฏิบัติได้ Reasonable = สมเหตุสมผล Time Constrained = มีกรอบเวลา การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

2. การระบุความเสี่ยง โดยจำแนกประเภทความเสี่ยงตาม ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริง และระบุ ปัจจัยความเสี่ยงตามประเภทของ ความเสี่ยง ซึ่งปัจจัยความเสี่ยงเกิดได้ จากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

แผนที่ความเสี่ยง ( Risk Map ) ข้อ 1.1 ข้อ 2.1 ข้อ 3.1 ข้อ 4.1 ข้อ 5.1 ด้านกลยุทธ์ ข้อ 2.1 2 ด้านเครดิต ข้อ 3.1 3 ด้านตลาด ข้อ 4.1 4 ด้าน สภาพคล่อง ข้อ 5.1 5 ปฏิบัติการ แผนที่ความเสี่ยง ( Risk Map ) การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

3. การประเมินความเสี่ยง ใช้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาโอกาสในการเกิดความเสี่ยง (Likelihood) โดยจัดระดับของการเกิดความเสี่ยงเป็น 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ำ และต่ำมาก แทนด้วยตัวเลข 5,4,3,2,1 ตามลำดับ 2. พิจารณาความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดจาก ความเสี่ยง (Impact) โดยจัดระดับความรุนแรงของ ผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงเป็น 5 ระดับ คือ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

ตัวอย่าง การจัดระดับโอกาสในการเกิดความเสี่ยง 5 สูงมาก ความหมาย คำอธิบาย 5 สูงมาก 1 เดือนต่อครั้ง หรือมากกว่า 4 สูง มากกว่า 1 เดือน – 6 เดือนต่อครั้ง แต่ไม่เกิน 5 ครั้งต่อปี 3 ปานกลาง 1 ปี ต่อครั้ง 2 ต่ำ 2-3 ปีต่อครั้ง 1 ต่ำมาก 4 ปีต่อครั้ง การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

ตัวอย่าง การจัดระดับผลกระทบด้านชื่อเสียงสหกรณ์  5 สูงมาก 4 สูง 3 ความหมาย กรรมการ สหกรณ์ สมาชิก วงการ มวลชน ต่าง ประเทศ 5 สูงมาก  4 สูง 3 ปานกลาง 2 ต่ำ 1 ต่ำมาก การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

การจัดระดับความเสี่ยง โดยพิจารณาผังจัดระดับความเสี่ยง ผลกระทบ (Impact) สูงมาก 5 สูง 4 ปานกลาง 3 ต่ำ 2 ต่ำมาก 1 5 สูงมาก 4 สูง 3 ปานกลาง 2 ต่ำ 1 ต่ำมาก โอกาส (Likelihood) M L VL H VH การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

การจัดระดับความเสี่ยง ความหมายระดับความเสี่ยง : VH = ระดับความเสี่ยงสูงมาก H = ระดับความเสี่ยงสูง M = ระดับความเสี่ยงปานกลาง L = ระดับความเสี่ยงต่ำ VL = ระดับความเสี่ยงต่ำมาก การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

4. การจัดการความเสี่ยง ดำเนินการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง และจัดทำแผน ปฏิบัติการรองรับความเสี่ยงสำหรับความเสี่ยงที่อยู่ใน ระดับ VH และ H ให้มีความเสี่ยงลดลงมาอยู่ในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ระดับความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง VH จัดทำแผนปฏิบัติการรองรับความเสี่ยง H M กำหนดให้มีผู้ดูแลรับผิดชอบความเสี่ยง L กำหนดให้มีการควบคุมในกระบวนการปฏิบัติงาน VL การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

5. การติดตาม ประเมินผล และรายงานความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบควรติดตามผลทุก 6 เดือน และประเมินการตอบสนองความเสี่ยง เพื่อ ระบุระดับความเสี่ยง หลังการจัดการความเสี่ยง และกำหนดวิธีการตอบสนองความเสี่ยงอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อลดระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ รวมทั้งรายงานผลการจัดการความ เสี่ยงต่อคณะกรรมการสหกรณ์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์ โดย ศรคม เงินศรี 12-13 พ.ค. 2551

ขอบคุณครับ