โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การตรวจการสหกรณ์ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักนายทะเบียนและกฎหมาย
ขั้นตอนการดำเนินการโครงการ กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “ หลักสูตรเทคนิคในการตรวจการสหกรณ์ ” จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 180 คน รุ่นที่ 1 วันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2552 รุ่นที่ 2 วันที่ 23 – 25 ธันวาคม 2552
หัวข้อการอบรม ∆ กฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับการตรวจการสหกรณ์ ∆ กฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับการตรวจการสหกรณ์ ∆ ระเบียบคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของผู้ตรวจการสหกรณ์ ∆ เทคนิคในการตรวจการสหกรณ์ ∆ อภิปรายกลุ่ม “ เทคนิคในการตรวจการสหกรณ์ ” ∆ สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ
ขั้นตอนการดำเนินการโครงการ กิจกรรมที่ 2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ผู้ตรวจการสหกรณ์ ระดับพื้นที่ / จังหวัด เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และเผยแพร่ความรู้ในการตรวจการสหกรณ์ร่วมกัน จำนวน 1,500 คน จำนวน 1 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน ระหว่างเดือนมกราคม – เดือนกุมภาพันธ์ 2553
หัวข้อในการอภิปราย @ การเตรียมการก่อนเข้าตรวจการสหกรณ์ @ การเตรียมการก่อนเข้าตรวจการสหกรณ์ @ แนวทางและวิธีการในการตรวจการสหกรณ์ @ ปัญหาในการปฏิบัติงานตรวจการสหกรณ์ @ ข้อบกพร่องที่ตรวจพบ @ แนวทางการแก้ไขข้อบกพร่องที่ตรวจพบ
วิธีดำเนินการ O กรมโอนเงินให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดและพื้นที่O จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ O พื้นที่จังหวัดจัดทำรายงานสรุปผลการประชุม เชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 เล่ม ส่งสำนักนายทะเบียนและกฎหมายภายในวันที่ 31 มีนาคม 2553
สรุปหลักสูตรการตรวจการสหกรณ์มี 2 กิจกรรม ∆ ประชุมเชิงปฏิบัติการ 2 รุ่น เพื่อเป็นผู้แทนในการเผยแพร่ ความรู้ที่ได้รับให้ผู้ร่วมงานและไปดำเนินกิจกรรมที่ 2 ∆ ประชุมผู้ตรวจการสหกรณ์ระดับจังหวัดและผู้ที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอสรุปผลการประชุมส่งให้กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สนม. ในปีนี้จะสรุปประเมินผลการทำ workshop เป็น เอกสารให้จังหวัด
หัวข้อในการอภิปราย @ ปัญหาและอุปสรรคในการตรวจการสหกรณ์ตาม @ ปัญหาและอุปสรรคในการตรวจการสหกรณ์ตาม วิธีการและคำแนะนำที่กรมฯ กำหนด @ ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคนั้นๆ
หัวข้อในการอภิปราย @ ปัญหาและอุปสรรคในการตรวจการสหกรณ์ตาม @ ปัญหาและอุปสรรคในการตรวจการสหกรณ์ตาม วิธีการและคำแนะนำที่กรมฯ กำหนด ประเด็นที่ 1 คำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ที่ 379/2546 เรื่อง กำหนดอำนาจหน้าที่ของ ผู้ตรวจการสหกรณ์
ตัวอย่างเช่น ต้องดำเนินการตรวจสอบสหกรณ์อย่างน้อยปีละ หนึ่งครั้ง เหมาะสมหรือไม่ แบบรายงานที่กรมฯ กำหนดเหมาะสมหรือไม่ ฯลฯ พร้อมให้เหตุผลประกอบด้วย
หัวข้อในการอภิปราย (ต่อ) @ ปัญหาและอุปสรรคในการตรวจการสหกรณ์ตาม วิธีการและคำแนะนำที่กรมฯ กำหนด ประเด็นที่ 2 ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วย ผู้ตรวจการสหกรณ์ พ.ศ. 2552 ประกาศ ณ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2552
ตัวอย่างเช่น การแต่งตั้งผู้ตรวจการสหกรณ์ เดิม ผู้ตรวจการสหกรณ์ต้องมิใช่ผู้ได้รับมอบหมายให้ เป็นผู้ส่งเสริมสหกรณ์สำหรับสหกรณ์ที่ตนต้องทำหน้าที่ ผู้ตรวจการสหกรณ์ ใหม่ เปิดกว้างให้ใช้ดุลพินิจ เช่น ตั้งทีมงานผู้ตรวจการสหกรณ์ ตั้งผู้ตรวจการสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จรวมทั้งส่งเสริม สหกรณ์นั้นๆ ด้วย หรือ
เป็นผู้ส่งเสริมสหกรณ์สำหรับสหกรณ์ที่ตนต้องทำ หน้าที่ผู้ตรวจการสหกรณ์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ต้องมิใช่ผู้ได้รับมอบหมายให้ เป็นผู้ส่งเสริมสหกรณ์สำหรับสหกรณ์ที่ตนต้องทำ หน้าที่ผู้ตรวจการสหกรณ์ พิจารณาทุกวิธีพร้อมยกเหตุผลประกอบ แบ่งเป็น 9 กลุ่มๆ ละ 20 คน
การตรวจการสหกรณ์ ∆ ตามปกติ ∆ จากการร้องเรียน ∆ ตามปกติ ∆ จากการร้องเรียน ข้อควรระวัง จะต้องคุ้มครองมิให้ผู้ร้องเรียนหรือ ผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่าต้องได้รับภัยอันเนื่องมาจากการ ร้องเรียนหรือให้ข้อมูลในครั้งนี้
เทคนิคในการตรวจการสหกรณ์ ตรวจการจากของจริง ( Inspection ) ตรวจการโดยการสังเกตการณ์ (Observation ) ตรวจการโดยการสอบถาม ( Enquiry ) ตรวจการโดยการคำนวณ ( Computation ) ตรวจการแบบสุ่ม ( Sampling )
รายงานการตรวจการจากประสบการณ์ ผู้ตรวจพบอะไร สภาพที่เกิดเป็นอย่างไร ( statement of condition ) สิ่งที่ตรวจพบต่างจากข้อกำหนด กฎเกณฑ์ หรือ สิ่งที่ควรเป็นอย่างไร ( audit criteria ) สิ่งที่ตรวจพบมีผลอย่างไรบ้าง ( effect ) ทำไมจึงเกิดขึ้นได้ ( cause ) จะแก้ไขได้อย่างไร ( recommendation )
ทำอย่างไรให้การตรวจการสหกรณ์ ทำให้ผู้ได้รับการตรวจมีความรู้สึกว่า เรากำลังเข้าไปช่วยเหลือ ไม่ใช่เข้าไปจับผิด
ขอให้เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ สวัสดี ขอให้เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ