สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การจัดการองค์ความรู้ Knowledge Management สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดฯ 5 มีนาคม 2552
แนวคิดการจัดการองค์ความรู้ ในหน่วยงาน รวบรวมประสบการณ์ของบุคลากรไว้ การมีส่วนร่วมของบุคลากรในหน่วยงาน พัฒนาการปฏิบัติงาน / นำไปสู่การปฏิบัติ
ขั้นตอนการดำเนินการ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กำหนดดำเนินการ 8 ขั้นตอน กรมส่งเสริมสหกรณ์ กำหนดดำเนินการ 8 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมข้อมูลและเอกสาร ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกรอบร่วมกัน ขั้นตอนที่ 3 ประมวลและสรุปเป็นชุดความรู้ ขั้นตอนที่ 4 ถ่ายทอดชุดความรู้
ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นตอนที่ 5 การเข้าถึงชุดความรู้ ขั้นตอนที่ 5 การเข้าถึงชุดความรู้ ขั้นตอนที่ 6 นำสู่การปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 7 ติดตาม ทบทวน สรุปผลการนำไปใช้ ขั้นตอนที่ 8 กรณีตัวอย่างที่ประสบผลสำเร็จ
กรอบเรื่ององค์ความรู้ KM ชุดบังคับ 1 เรื่อง คือ บทวิเคราะห์ คำแนะนำ ข้อมูล ที่ MU ควรจัดทำและใช้เป็นคู่มือ ประกอบการแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร KM ชุดเลือกดำเนินการ 2 เรื่อง
กรอบเวลา KM ชุดบังคับ 1 เรื่อง KM ชุดเลือกดำเนินการ 2 เรื่อง ดำเนินการขั้นตอนที่ 1 – 6 ภายในไตรมาส 2 (มีนาคม 2552) ดำเนินการขั้นตอนที่ 7 – 8 ภายในไตรมาส 3 (มิถุนายน 2552) KM ชุดเลือกดำเนินการ 2 เรื่อง ต้องประเมินผลการนำไปใช้ในเดือนสิงหาคม 2552
การจัดการองค์ความรู้ชุดบังคับ 1 เรื่อง การจัดการองค์ความรู้ชุดบังคับ 1 เรื่อง “เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ ของสหกรณ์การเกษตร”
“เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ของสหกรณ์การเกษตร” สาระขององค์ความรู้ “เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ของสหกรณ์การเกษตร” 1. โครงสร้างของสหกรณ์การเกษตร 2. โครงสร้างการบริหารจัดการของสหกรณ์การเกษตร 3. ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก
“เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ของสหกรณ์การเกษตร” สาระขององค์ความรู้ “เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ของสหกรณ์การเกษตร” แนวคิดการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ค้างนาน 4.1 แนวคิดในการแก้ไขปัญหาหนี้เงินกู้ค้างนาน 4.2 แนวคิดในการติดตามเร่งรัดหนี้ เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ผิดสัญญา ของสหกรณ์การเกษตร
วิธีการ : แจ้งเป็นหนังสือกำหนดเงื่อนไขและระยะเวลาในการปฏิบัติ เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ผิดสัญญา ของสหกรณ์การเกษตร เทคนิคที่ 1 การร่อนตะแกรง สถานการณ์ : สมาชิกค้างนานและจำนวนมาก กลยุทธ์ : ดำเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่อง วิธีการ : แจ้งเป็นหนังสือกำหนดเงื่อนไขและระยะเวลาในการปฏิบัติ ผู้ที่ปฏิบัติตามเงื่อนไขก็ชะลอการติดตามเร่งรัด ผู้ที่ไม่ปฏิบัติก็ดำเนินการจนถึงที่สุด (ดำเนินคดีจริงจัง)
วิธีการ : จัดการประชุมผู้นำกลุ่มทุก 3 – 4 เดือนต่อครั้ง เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ผิดสัญญา ของสหกรณ์การเกษตร เทคนิคที่ 2 การใช้พลังผู้นำกลุ่มสมาชิก สถานการณ์ : สมาชิกค้างชำระหนี้กระจายหลายกลุ่ม ผู้นำกลุ่มมีส่วนร่วมเห็นชอบการให้กู้เงิน กลยุทธ์ : เน้นความสำคัญของผู้นำ วิธีการ : จัดการประชุมผู้นำกลุ่มทุก 3 – 4 เดือนต่อครั้ง จัดเอกสารข้อมูลและมอบหมายให้ติดตามเร่งรัดหนี้ กำหนดค่าตอบแทนการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม
วิธีการ : ประธาน / ผู้จัดการ เป็นผู้ควบคุมและกระจายงาน เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ผิดสัญญา ของสหกรณ์การเกษตร เทคนิคที่ 3 การมอบหมายผู้รับผิดชอบ สถานการณ์ : ติดตามเร่งรัดเป็นรายคน ติดตามในช่วงใกล้สิ้นปี กลยุทธ์ : กระจายความรับผิดชอบ วิธีการ : ประธาน / ผู้จัดการ เป็นผู้ควบคุมและกระจายงาน มอบหมายเจ้าหน้าที่ / กรรมการให้ติดตามเร่งรัดหนี้ ผู้รับผิดชอบรายงานผลเป็นประจำทุกสัปดาห์
วิธีการ : ผู้นำกลุ่มระดมเงินสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมแก้ปัญหา เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ผิดสัญญา ของสหกรณ์การเกษตร เทคนิคที่ 4 โครงการกิจกรรมกลุ่มแก้ปัญหา สถานการณ์ : สมาชิกในกลุ่มไม่มีเงินพอที่จะชำระหนี้หมด กลยุทธ์ : การรวมเงินกันเพื่อชำระหนี้เงินกู้ วิธีการ : ผู้นำกลุ่มระดมเงินสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมแก้ปัญหา สมาชิกนำเงินชำระหนี้และกู้เงินคืนโดยเร็ว สมาชิกหมุนเวียนกันกู้ยืมเงินเพื่อแก้ปัญหาจนครบทุกคน
วิธีการ : กำหนดและประกาศหลักเกณฑ์การจัดชั้นสมาชิก เทคนิคการติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้ผิดสัญญา ของสหกรณ์การเกษตร เทคนิคที่ 5 การจัดชั้นสมาชิก สถานการณ์ : ความร่วมมือของสมาชิกมีแนวโน้มลดลง กลยุทธ์ : ให้ความสำคัญกับสมาชิกที่ร่วมทำกิจกรรม วิธีการ : กำหนดและประกาศหลักเกณฑ์การจัดชั้นสมาชิก จัดสวัสดิการแก่สมาชิกตามหลักเกณฑ์การจัดชั้นสมาชิก การปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ การจัดการเพื่อการเข้าถึงองค์ความรู้ 2. การจัดการเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ 3. การจัดการเพื่อนำองค์ความรู้สู่การปฏิบัติ 4. การจัดการเพื่อคัด Best Practices
ขอขอบคุณทุกท่าน