Search Engine.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เทคนิคการสืบค้น … อย่างมืออาชีพ
Advertisements

เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
การสืบค้นข้อมูล ด้วย K.Suchart RU-Com.
ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
บทที่ 4 การออกแบบ User Interface
Online Online การสืบค้นข้อมูล.
ฐานข้อมูลสิทธิบัตรทั่วโลก (ไทย)
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Multimedia Search Siamguru Co., LTD.
Slide :1. Slide :2 ข้อมูลบนเว็บไซต์มีจำนวนมากมายมหาศาลทำให้เข้าถึงได้ ยาก ผู้ใช้ต้องการข้อมูลที่ตรงกับความต้องการและสามารถสืบค้น ได้ง่าย พื้นฐานมาจากเทคนิคสืบค้นสารสนเทศในห้องสมุด.
ที่มาของเสิร์ชเอ็นจิน (Search Engine)
Top 5 Semantic Search Engines
Microsoft Word 2002 พุธทอง กาบบัวลอย.
เว็บไซต์ สาขา สารสนเทศศาสตร์
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
การสืบค้นแหล่งเรียนรู้จากอินเตอร์เน็ต
เรื่อง บริการของเว็บ Google จัดทำโดย น. ส. จิราวรรณ ตุตะพะ น. ส. บุญยฤทธิ์ เรืองยะกลับ น. ส. อัญชลี รัตนสุวรรณ เสนอ อ. จามรรัตน์ ถุงเงิน.
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การสืบค้นข้อมูลบนระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
The automated web application testing (AWAT) system
ปฏิบัติการที่ 13 การใช้งาน Online Bookmarking
S T A N G M O N G K O L S U K L I B R A R Y งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เทคนิคการ.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แนะนำการใช้ฐานข้อมูล LexisNexis
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
วิธีการใช้งาน Google ค้นหาข้อมูล แบบติดจรวด
การใช้ Internet ในการเรียน
วิชา การสืบค้นสารสนเทศ ขั้นสูง ( Advanced Information Retrieval ) รหัสวิชา (2-2)
Search Engine อ. กฤษฎา ศักดิ์คำดวง.
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
WEB OPAC.
Jatuphum Juanchaiyaphum
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Google / Gmail Kulachatr C. Na Ayudhya
Kulachatr C.NaAyudhya การฝึกปฏิบัติการ Google / Gmail Kulachatr C. Na Ayudhya.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
บทที 6 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Theiconweb Total business development co.,Ltd
เทคนิคการสืบค้น Google
การใช้อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต เอ็กซ์พอลเรอร์ (internet explover:IE) เป็นศูนย์รวมเครือข่ายระดับโลกโดยการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องเข้าด้วยกันทำให้เกิดการสื่อสาร.
กิจกรรมที่ 17 เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 1. อธิบายหน้าที่เว็บเบราว์เซอร์และ โปรแกรมค้นหา 2. ใช้เว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมค้นหา จุดประสงค์ กิจกรรมที่
E-News For Modern Life งานบริการสารนิเทศ ฝ่ายบริการ ทรัพยากรสารนิเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การใช้ Internet ในการเรียน
LOGO อบรม Web Database Week 2 hong/don กิตติพงศ์ เซ่งลอย เลื่อน ( ดอน )
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC
การใช้ Internet ในการ เรียน คอมพิวเตอร์สมัยนี้ กล้วยเรียก “ พี่ ”
ปฏิบัติการครั้งที่ 2 Internet Explorer โดย ผศ. ดร. ลัดดา โกรดิ คุณวิไลลักษณ์ คิดสร้าง คุณสมพร สายปัญญา.
การสืบค้นทางคณิตศาสตร์
Search Engine จัดทำโดย น. ส. กรรณิดา เดิมบางปิด เลขที่ 1 น. ส. เกศินี ศรีอินทร์สุทธิ์ เลขที่ 4 น. ส. เบญจวรรณ แซ่อั๊ง เลขที่ 51 1.
วิธีการสืบค้นข้อมูล ด้วย Search engine และการเขียนบรรณานุกรม
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
อินเทอร์เน็ต.
Uniform Resource Location ( URL)
อ.เดชรัตน์ ไตรโภค (อ.โอ๋) www . oho888 . com โทร
Chapter 3 การตลาดออนไลน์
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
Knovel E-Books Database.
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การค้นหาสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
EbscoHost & NetLibrary เป็นฐานข้อมูลที่ครอบคลุมงานวิชาการจากทั่วโลก ซึ่งมี full text มากกว่า 5,990 รายชื่อ รวมทั้งวารสารที่เป็น peer reviews อีกกว่า 5,030.
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
หลักการออกแบบเว็บไซต์
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
ททททททททททท. ความหมาย กระบวนการในการ ค้นหาเอกสาร หรือ สารสนเทศที่ ต้องการ โดยใช้เครื่องมือช่วยค้น รูปแบบต่างๆ การสืบค้นสารสนเทศ (Information Searching.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Search Engine

ลักษณะการทำงานของ Search Engine การค้นหาโดยใช้ดัชนี การค้นหาตามหมวดหมู่ การค้นหาแบบวิธีผสม

Keyword Keyword (คีย์เวิร์ด) เป็นคำที่ใช้ในการอธิบายรูป ลักษณะของเอกสารนั้น เช่น ชื่อเรื่อง หัวข้อ หัวเรื่อง รายละเอียดอย่างย่อของเอกสาร เพื่อความสะดวก และความรวดเร็ว ในการสืบค้น เอกสารในข้อมูลระบบ ไม่ว่าจะเป็นการค้นหาเว็บเพจ ที่อยู่ในฐานข้อมูลของเสิร์ชเอนจิ้น หรือการสืบค้นเอกสารต่างๆ ในระบบของห้องสมุด เป็นต้น ดังนั้น Keyword คีย์เวิร์ดจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก ซึ่ง Keyword นี้จะเป็นเหมือนสัญลักษณ์ประจำตัวของหน้าเว็บเพจหรือเรื่องนั้นๆ

เมื่อเราเปิดบราวเซอร์และพิมพ์ URL : www. google เมื่อเราเปิดบราวเซอร์และพิมพ์ URL : www.google.com ลงไป ด้วยระบบตรวจสอบภาษาของเว็บไซต์ Google เมื่อพบว่า เราใช้บราวเซอร์บนวินโดว์ภาษาไทยระบบจะสวิทช์เป้าหมายมายัง www.google.co.th โดยอัตโนมัติดังภาพข้างบน       บริการค้นหาของ Google แยกฐานข้อมูลออกเป็น 4 หมวด คือ เว็บ : เป็นการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ ทั่วโลก รูปภาพ : เป็นการค้นหารูปภาพหลากหลายฟอร์แมตจากเว็บไซต์ ต่างๆ ทั่วโลก กลุ่มข่าว : เป็นการค้นหาเรื่องราวที่น่าสนใจจากกลุ่มข่าวต่างๆ สารบัญเว็บ : การค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ที่แยกออกเป็นหมวดหมู่

การใช้เครื่องหมายบวก (+) ช่วยในการค้นหาข้อมูล เทคนิคการค้น Google อย่างมืออาชีพ ! การใช้เครื่องหมายบวก (+) ช่วยในการค้นหาข้อมูล ตัดบางคำที่ไม่ต้องการค้นหาด้วยเครื่องหมายลบ ( - ) การค้นหาด้วยเครื่องหมายคำพูด ("...") การค้นหาด้วยคำว่า OR ไม่ต้องใช้คำว่า " AND" ในการแยกคำค้นหา Google จะไม่ใส่ใจใน Common Word (เช่น at, with, on, what, when, where, how, the, to, of )

Google สามารถใช้เป็นเครื่องคิดเลขได้ด้วย ตัวอย่างเช่น 100/2 หรือ 10^5 โดยใช้เครื่องหมาย + - * / ^ % หรือ พิมพ์คำว่า 5 kilometers in miles (เพื่อถามว่า 5 กิโลเมตรเท่ากับกี่ไมล์ ?) ลองทดสอบดูนะ เช่น 60 minutes in hours 365 day in year 365 day in week

กิจกรรม แบ่งกลุ่ม ๆละ 5 คนและส่งรายชื่อค้นคว้าภายในคาบเรียน