เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม โดย สามารถ จันทร์สูรย์
ความสำคัญของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อิตาลี สิงคโปร์ ญี่ปุ่น จีน เกาหลี
องค์การความร่วมมือเพื่อการค้าและการพัฒนา : UNCATD “เป็นแนวคิดในการพัฒนาและสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยใช้ทรัพย์สิน ที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์”
นิยาม สามารถ จันทร์สูรย์ : “แนวความคิดในการใช้คุณค่าของมรดกทรัพย์สินทางศิลปวัฒนธรรม องค์ความรู้ภูมิปัญญา เอกลักษณ์ของท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสม และบริหารจัดการเชิงธุรกิจ มาพัฒนาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อสร้างคุณค่าทางสังคม และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมพร้อมกันไปอย่างสมดุลย์”
จุดแข็งของวัฒนธรรมไทย ๑. มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ๒. มีประวัติศาสตร์และมรดกทางวัฒนธรรมที่ยังคงสภาพที่ดี ๓. มีความประณีตละเอียดอ่อนในการสร้างสรรค์ผลงานที่ใช้ฝีมือ ๔. มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สวยงามหลากหลาย ๕. มีต้นทุนค่าครองชีพต่ำ ๖. มีภูมิปัญญาท้องถิ่นจำนวนมาก
จุดอ่อนของวัฒนธรรมไทย ๑.ขาดการบูรณาการและความต่อเนื่อง ๒.ขาดระบบข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลทางสถิติ ๓.มีปัญหาการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาอย่างมาก ๔. การผลิตมีการลอกเลียนแบบหรือตามสั่งซื้อโดยไม่สร้างสรรค์ ๕. การสนับสนุนของสถาบันการเงินอยู่ในวงจำกัด ๖. ขาดแนวทางการถ่ายทอดและจัดเก็บภูมิปัญญาอย่างเป็นระบบ ๗.โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยยังอยู่ในระดับที่จำกัด ๘. ระบบมาตรฐานการผลิตยังต้องได้รับการพัฒนาและปรับปรุง
องค์ประกอบร่วมของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทุนวัฒนธรรม + ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี + ธุรกิจ +
การจัดประเภทของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศไทย โดย UNCTAD 1. กลุ่มมรดกทางวัฒนธรรม สถานที่สำคัญ งานฝีมือ หัตถกรรม การแพทย์แผนไทย อาหารไทย การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2. กลุ่มศิลปะ ศิลปะการแสดง ทัศนศิลป์ 3. กลุ่มสื่อ การพิมพ์และสื่อการพิมพ์ ภาพยนตร์ วีดีทัศน์ 4. กลุ่มงานสร้างสรรค์ตามลักษณะงาน แฟชั่น โฆษณา สถาปัตยกรรม ดนตรี ซอฟแวร์ งานออกแบบ
บริการเชิงสร้างสรรค์ ประเภทอุตสาหกรรมวัฒนธรรม : เศรษฐกิจสร้างสรรค์ อุตสาหกรรม วัฒนธรรม เทศกาลศิลปวัฒนธรรม ออกแบบ บริการเชิงสร้างสรรค์ สิ่งพิมพ์ ทัศนศิลป์ สื่อชนิดใหม่ ภาพยนตร์ / วีดิทัศน์ พื้นที่ทางวัฒนธรรม ศิลปะการแสดง มรดก ศิลปะ สื่อ งานสร้างสรรค์ที่ใช้เป็นประโยชน์
ลักษณะการสรรค์สร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๑. เน้นการเพิ่มคุณค่าของสินค้าและบริการ โดยนำความคิดสร้างสรรค์มาเสริมให้สินค้ามีมูลค่าเพิ่มขึ้น ๒. สร้างองค์ความรู้ใหม่ พื้นที่สร้างสรรค์ ที่มีความแตกต่าง เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น และของไทย ๓. ผสมผสานแนวความคิดดั้งเดิม เทคโนโลยี ความคิด สร้างสรรค์ ธุรกิจ และการตลาด
แนวทางการดำเนินงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ วิสัยทัศน์ : จากทุนทางวัฒนธรรมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์ : นำทุนทางวัฒนธรรมของประเทศสร้างคุณค่าทางสังคมและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิงวัฒนธรรม ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ผลลัพธ์ ทุนทาง วัฒนธรรม การต่อยอด/ การเพิ่มคุณค่า เพิ่มมูลค่า สินค้า+บริการ วัฒนธรรมใหม่ ความรู้ใหม่ ความรู้สึกใหม่ รายได้ใหม่ ของประเทศ เพิ่มขีด ความสามารถ ในการแข่งขัน + สร้างความสุข อย่างยั่งยืน =
Industrial Design Network Co.,Ltd.
Industrial Design Network Co.,Ltd.
Industrial Design Network Co.,Ltd.
Industrial Design Network Co.,Ltd.
แนวทางการดำเนินงานสร้างเศรษฐกิจวัฒนธรรม ๑. ปรับกรอบความคิดการพัฒนาสินค้าและบริการ ๒. พัฒนาบุคลากรให้รวมกลุ่มทำความเข้าใจแสวงหาความรู้ ๓. พัฒนารูปแบบการผลิตสินค้าและบริการ ๔. ใช้มรดกศิลปวัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนาต่อยอด ๕. นำหลักเศรษฐกิจพอเพียงเป็นต้นแบบ ๖. พัฒนาฐานระบบข้อมูลทั้ง ๔ กลุ่ม ๗. ขยายความร่วมมือทุกภาคส่วน