Computer Programming I

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

3. วิธีทำให้ข้อมูลเป็นสารสนเทศมีกี่วิธีอะไรบ้าง
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Chapter 1 Introduction to Information Technology
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
Central Processing Unit
ชุดที่ 2 Hardware.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
1.
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
Computer Programming I
Computer Programming I
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Functional components of a computer
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
ส่วนประกอบ อุปกรณ์ และคุณสมบัติที่ดีของคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจำ Central Processing Unit and Memory
หน่วยนำข้อมูลเข้าและออก Input Unit And Output Unit
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ระบบคอมพิวเตอร์ โดย อาจารย์เบญจมาศ
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
HARDWA RE อุปกรณ์หรือ ชิ้นส่วน ที่ประกอบเป็น คอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์. ? เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์และไอซี ชิปเซ็ต ต่างๆ ที่สามารถจดจำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทาง.
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
สร้างสรรค์โดย เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul เด็กชายทวีลาภ สุวัฒนพันธุ์กุล Taweelap Suwattanapunkul.
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
จัดทำโดย เด็กหญิง พัทธนันท์ ริบแจ่ม เลขที่ 7 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4/5 เสนอ อาจารย์ สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ. ลำพูน.
Integrated Network Card
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

204105 Computer Programming I CompScCMU cs-cmu 2004

การวัดผล สอบกลางเทอม 35 % เนื้อหาหัวข้อ 1+2+3+4+5.1 สอบกลางเทอม 35 % เนื้อหาหัวข้อ 1+2+3+4+5.1 จันทร์ ที่ 2 สิงหาคม 2547 เวลา 12:00-15:00 น. สอบปลายเทอม 40% เนื้อหาหัวข้อ 5+6+7+8+9+10 อังคาร ที่ 5 ตุลาคม 2547 ปฏิบัติการ 25 % cs-cmu 2004

เนื้อหา 1. ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล 2. การสื่อสารข้อมูล 3. การพัฒนาโปรแกรม และ การออกแบบอัลกอริทึม 4. ส่วนประกอบของภาษาโปรแกรม 5. ประโยคคำสั่งควบคุม 6. โปรแกรมย่อยฟังก์ชัน (Function) 7. ตัวบ่งชี้(Pointer) การประมวลผลแฟ้มข้อมูล ตัวแปรชุด (Arrays) ข้อมูลแบบโครงสร้าง (struct) cs-cmu 2004

ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware) การประมวลผลข้อมูล (Data processing) ข้อมูล (Data) และ ข้อสนเทศ (Information) การจัดองค์กรของข้อมูล (Data organization) วัฏจักรการประมวลผลข้อมูล ประเภทของการประมวลผล การแทนข้อมูลในหน่วยความจำ ระบบเลขฐานและการดำเนินการที่เกี่ยวข้อง การแทนอักขระ การแทนจำนวนเลข cs-cmu 2004

คอมพิวเตอร์คืออะไร? หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องที่มีความสามารถดำเนินกรรมวิธีหรือประมวลผลข้อมูลอัตโนมัติ โดยอาศัยส่วนประกอบต่าง ๆ ร่วมกันทำงาน สามารถป้อนโปรแกรม(ชุดคำสั่ง) บันทึกข้อมูล คำนวณและจัดการข้อมูลแบบอักขระได้ cs-cmu 2004

ลักษณะที่สำคัญของคอมพิวเตอร์ 1) ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์และอัตโนมัติ 2) มีความเร็วสูงในการประมวลผล 3) มีหน่วยความจำภายในขนาดใหญ่ 4) ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ cs-cmu 2004

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware: H/W) ซอฟต์แวร์ (Software: S/W) บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (Peopleware:P/W) cs-cmu 2004

ฮาร์ดแวร์ (Hardware: H/W) ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ี่ประกอบเข้าเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งตามหน้าที่การทำงานได้เป็น 4 หน่วย ดังนี้ 1)หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 2)หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit) 3)หน่วยความจำ (Memory หรือ Storage Unit) หน่วยความจำหลัก (Main Memory) หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage) 4)หน่วยแสดงผล (Output Unit) cs-cmu 2004

หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit) หน้าที่ รับข้อมูลจากภายนอกโดยผ่านอุปกรณ์ซึ่งทำหน้าที่แปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ดังกล่าวเรียกว่า Input device cs-cmu 2004

ความสัมพันธ์ Input unit Main memory cs-cmu 2004

อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า (Input device) แป้นพิมพ์ (Keyboard) เอ็มไอซีอาร์ หรือ เครื่องอ่านอักขระหมึกแม่เหล็ก (Magnetic Ink Character Reader: MICR) โอซีอาร์ หรือ เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง (Optical Character Reader: OCR) cs-cmu 2004

อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า(Input device) สแกนเนอร์ (Scanner) cs-cmu 2004

อุปกรณ์รับข้อมูลเข้า(Input device) เครื่องอ่านบัตรเจาะรู (Card reader) เครื่องอ่านแผ่นซีดี (CDROM drive) เครื่องอ่านเทปกระดาษ Voice recognizer ฯลฯ cs-cmu 2004

หน่วยแสดงผลข้อมูล(Output unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลภายในเครื่องคอมพิวเตอร์แสดงออกมาภายนอกในรูปแบบ และลักษณะต่างๆ หน่วยแสดงผลข้อมูลแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ หน่วยแสดงผลแบบ Softcopy คือการแสดงผลแล้วลบหายไป หน่วยแสดงผลแบบ Hardcopy คือการแสดงผลที่สามารถเก็บผลนั้นไว้ใช้ภายหลังได้ เช่น การพิมพ์เป็นรายงานหรือเก็บไว้เป็นหลักฐานด้วยเครื่องพิมพ์ (Printer) cs-cmu 2004

ความสัมพันธ์ Main memory Output unit cs-cmu 2004

อุปกรณ์ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล (Output devices) จอภาพแสดงผล CRT, VDO, MONITOR เครื่องพิมพ์ (Printer) Impact printer : Dot matrix, Line printer Non- impact printer : Thermal printer, Page printer, Laser printer เครื่องวาด (Plotter), ลำโพง (Speaker) หรือ Voice synthesizer cs-cmu 2004

อุปกรณ์ทำหน้าที่รับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output devices) เครื่องอ่านและบันทึกลงดิสค์(Disk drive) เครื่องอ่าน/บันทึกดิสเกตต์(Diskette drive) เครื่องอ่านหรือบันทึกเทปแม่เหล็ก(Tape drive) cs-cmu 2004

หน่วยประมวลผลกลาง หน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาทาง อุปกรณ์รับข้อมูลตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการ ประกอบด้วยวงจรหลายๆ วงจรที่ทำหน้าที่แตกต่างกัน ตามการกระทำพื้นฐานที่แต่เครื่องสามารถดำเนินการได้ cs-cmu 2004

เซ็ตของคำสั่ง(Instruction Set) แต่ละคำสั่งมีลักษณะเป็นกลุ่มของบิต ซึ่งจะบอกแก่คอมพิวเตอร์ให้ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นหน้าที่พื้นฐาน ซึ่งได้แก่ บวก ลบ คูณ หาร เปรียบเทียบ คัดลอก กระตุ้นให้เกิดการรับข้อมูล หรือ กระต้นให้เกิดการแสดงผลของหน่วยแสดงผล กลุ่มบิตของแต่ละคำสั่ง แบ่งออกเป็น 2 ส่วน เช่น ADD 1000, 1002 บวกข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่ง 1000 ในหน่วยความจำ กับค่าข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่ง 1002 Operation Code Operand กลุ่มของวงจรที่แทนการดำเนินการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์แต่เครื่อง เรียกว่า เซ็ตของคำสั่ง cs-cmu 2004

ความสัมพันธ์ Processor Main memory cs-cmu 2004

หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วนหลัก คือ 1) หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณและ การเปรียบเทียบทางตรรกะ 2) หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่ควบคุมและประสานการทำงานของส่วนต่างๆ โดยมีนาฬิกา(clock)เป็นตัวให้จังหวะกระตุ้นการทำงาน นอกจากนี้ยังมีหน่วยที่ทำหน้าที่จดจำคำสั่งหรือข้อมูลซึ่งกำลังถูกดำเนินการ เรียกหน่วยนี้ว่า หน่วยความจำความเร็วสูงหรือ รีจีสเตอร์ (Registers) cs-cmu 2004

รีจิสเตอร์ (Register) แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ รีจิสเตอร์ทั่วไป (General Register) รีจิสเตอร์พิเศษ (Special Register) คือ รีจิสเตอร์ที่แต่ละตัวจะทำงานเฉพาะอย่าง ที่สำคัญได้แก่ Accumulator ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในขณะประมวลผล หรือเป็นที่พักผลลัพธ์จากการคำนวณ ก่อนที่จะถูกส่งไปบันทึกในหน่วยความจำหลัก Instruction Register เป็นที่เก็บคำสั่งที่กำลังทำงานอยู่ Program Counter เป็นตัวชี้ไปยังคำสั่งถัดไปที่จะถูกดึงเข้ามาทำงาน cs-cmu 2004

ส่วนประกอบสำคัญในหน่วยประมวลผลกลาง Clock CU ALU Registers cs-cmu 2004

CU ALU Clock RAM Processor 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 Clock CU ALU Program counter Instruction Register Processor Accumulator 1 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

1 fetch CU ALU Clock RAM Processor COPY 1000 TO REG1 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 COPY 1000 TO REG1 2 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

2 CU ALU Clock RAM Processor COPY 1000 TO REG1 1 COPY 1000 TO REG1 50 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 COPY 1000 TO REG1 2 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

3 CU ALU Clock RAM Processor COPY 1000 TO REG1 1 COPY 1000 TO REG1 50 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 COPY 1000 TO REG1 2 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

4 CU ALU Clock RAM Processor COPY 1001 TO REG2 1 COPY 1000 TO REG1 50 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 COPY 1001 TO REG2 3 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

5 CU ALU Clock RAM Processor COPY 1001 TO REG2 1 COPY 1000 TO REG1 50 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 COPY 1001 TO REG2 88 3 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

6 CU ALU Clock RAM Processor COPY 1000 TO REG2 1 COPY 1000 TO REG1 50 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 COPY 1000 TO REG2 88 3 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

7 CU ALU Clock RAM Processor ADD REG1, REG2 1 COPY 1000 TO REG1 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 ADD REG1, REG2 4 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

8 CU ALU Clock RAM Processor ADD REG1, REG2 1 COPY 1000 TO REG1 50 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 ADD REG1, REG2 138 88 4 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

9 CU ALU Clock RAM Processor ADD REG1, REG2 1 COPY 1000 TO REG1 50 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 ADD REG1, REG2 138 88 4 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

10 CU ALU Clock RAM Processor 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 50 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 COPY ACCUMULATOR TO 1002 138 88 5 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 cs-cmu 2004

11 CU ALU Clock RAM Processor 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 50 Program counter Instruction Register Accumulator REG2 COPY ACCUMULATOR TO 1002 138 88 5 1 COPY 1000 TO REG1 2 COPY 1001 TO REG2 3 ADD REG1, REG2 4 COPY ACCUMULATOR TO 1002 RAM 1000 50 1001 88 1002 138 cs-cmu 2004

Machine cycle ชุดคำสั่งถูกโหลดเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ Program counter ถูกกำหนดให้เก็บค่าตำแหน่งของ คำสั่งแรกที่ต้องถูกดำเนินการ หน่วยควบคุม ควบคุมให้เกิดการอ่านคำสั่งในหน่วยความจำ ณ ตำแหน่งที่มีค่าตามที่กำหนดไว้ใน Program counter โดยนำคำสั่งที่อ่านได้ไปเก็บไว้ใน Instruction register เพิ่มค่าใน program counter ให้เป็นค่าของตำแหน่งในหน่วยความจำที่เก็บคำสั่งถัดไป หน่วยควบคุมส่งสัญญานควบคุมหน่วย ALU ให้ดำเนินการตามคำสั่ง ผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินการจะถูกพักไว้ที่ Accumulator register หน่วยควบคุม จะควบคุมให้บันทึกค่าใน ACC ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำ 3-6 เรียกว่า Machine cycle = I-time + E-time I-time : Instruction Time E-time : Execution Time

หน่วยความจำหลัก หน่วยความจำหลักมี 2 ชนิดคือ 1) ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำชนิดอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียนหรือบันทึกข้อมูลในหน่วยความจำแบบนี้ได้ 2) RAM (Random Access Memory) หรืออาจเรียกว่า RWM (Read/Write Memory) หน่วยความจำแบบนี้สามารถอ่านและบันทึกข้อมูลได้ cs-cmu 2004

ความสัมพันธ์ Clock CU ALU Registers Main memory cs-cmu 2004

หน่วยความจำสำรอง หน่วยความจำสำรองจะเป็นหน่วยบันทึกข้อมูลอย่างถาวร ไม่ลบหายถึงแม้จะไม่มีไฟเลี้ยงอยู่ก็ตาม ทำหน้าที่เก็บข้อมูลอย่างถาวรไว้ใช้ในโอกาสต่อไป cs-cmu 2004

ความสัมพันธ์ Clock CU ALU Registers Secondary storage Main memory Cache memory cs-cmu 2004

สื่อบันทึกข้อมูลแบบลำดับ SAS : Sequential Access Storage บัตรเจาะรู (Punch Card) Card Reader Card Punch แถบกระดาษ (Paper Tape) เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) เทปตลับ (Tape cassette) cs-cmu 2004

สื่อบันทึกแบบเข้าถึงโดยตรง (Direct Access Storage) จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) เครื่องอ่านและบันทึกจานแม่เหล็ก (Disk drive) แผ่นดิสเก็ตต์ (Diskette, Floppy Disk) เครื่องอ่านและบันทึกดิสเก็ตต์ (Diskette drive) Hard disk หรือ Fixed disk Compact Disk(CD) : CD-ROM cs-cmu 2004

ภาพจานแม่เหล็ก (Magnetic disk) cs-cmu 2004

รายละเอียดจานแม่เหล็ก Tracks: ร่องบันทึกข้อมูลตามแนวเส้นรอบวงบนจานแม่เหล็ก หรือตาม ความกว้างของเทปแม่เหล็ก ร่องบันทึกข้อมูลแต่ละร่อง ไม่ต่อเนื่องกัน Sector: ส่วนหนึ่งของร่องบันทึกข้อมูลบนแผ่นจานแม่เหล็กชนิดอ่อน ซึ่ง บันทึกข้อมูลระหว่าง 128 byte ถึง 1 Kb Cylinder: แนวดิ่งตรงกันของร่องบันทึกข้อมูลบนชุดจานแม่เหล็ก แต่ละ แผ่นวางเรียงซ้อนกันบนแกนเดียวกัน ดังนั้นถ้า 200 ร่องบันทึก ก็จะมี 200 Cylinder Surface: พื้นผิวของจานแม่เหล็ก 1 แผ่นมี 2 พื้นผิว cs-cmu 2004

แผ่นจานแม่เหล็กเก็บข้อมูล (Magnetic Disk) 512 Byte Track+Sector Track Sector

แผ่นจานแม่เหล็กแบบอ่อน (Floppy Disk)                                     

ภาพแผ่นดิสก์เก็ตต์ cs-cmu 2004

แผ่นจานแม่เหล็กแข็งขนาดเล็ก (Hard Disk)                                                                                                                                                                                                     

CD มีการบันทึกลักษณะเหมือนกับจาน แม่เหล็ก แต่สามารถบรรจุข้อมูลได้ มากกว่า cs-cmu 2004

บิต กับ ไบต์ บิต (Bit) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดที่อาจเป็นเลข 0 หรือ 1 ย่อมาจาก Binary Digit ไบต์ (Byte) คือ กลุ่มของบิต จำนวน 6-8 บิต ใช้เข้ารหัสแทน อักษร หรือ ตัวเลข 1 ตัว และนิยมใช้เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล cs-cmu 2004

หน่วยวัดความจุข้อมูล 1 Byte = 6-8 Bit 1 Kbyte = 210 Byte =1024 Byte 1 Mbyte = 210 Kbyte 1 Gbyte = 210 Mbyte K= Kilo กิโล M = Mega เมกะ G = Giga จิกะ T = Tera เทรา cs-cmu 2004

วิธีการบันทึกในหน่วยความจำสำรอง อุปกรณ์การอ่าน และ อุปกรณ์บันทึก อุปกรณ์บันทึก CPU ------- MEMORY สื่อบันทึก อุปกรณ์อ่าน cs-cmu 2004

The Input/Process/Output Cycle CPU CU ALU Registers Input unit Main memory Output unit Secondary storage cs-cmu 2004