ระบบบัญชีเดี่ยว.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
Advertisements

บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
การบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
Statement of Cash Flows
Revision Problems.
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
จัดทำโดย ฝ่าย บัญชี และ การเงิน IT ปี 3
Pung Yoi Restaurant.
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
การตีราคาสินค้าคงเหลือ และ ต้นทุนขาย
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
The Analysis And Use of Financial Statement
บทที่ 4 งบการเงิน.
การร่วมค้า (Joint Venture)
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การเปลี่ยนแปลงทางบัญชี และการแก้ไขข้อผิดพลาด
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
ระบบบัญชี.
การตรวจสอบด้านการเงิน
งบลงทุน Capital Budgeting
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
ข้อมูลทางการเงินและบัญชีสำหรับรัฐวิสาหกิจกลุ่มที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน
ข้อมูลทางการเงินและบัญชีสำหรับรัฐวิสาหกิจกลุ่มสถาบันการเงิน
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
Pung Yoi Restaurant.
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2553
เด็กไทยรุ่นใหม่ใส่ใจการออม
การนำเสนอการ์ตูนบัญชี
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ ของกระแสเงินหลังหักภาษี
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
บทที่ 3 การวิเคราะห์รายการค้า.
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
วิชาระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
โปรแกรมการจัดการระบบการเงิน ในร้านโชห่วย
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบบัญชีเดี่ยว

ระบบบัญชีเดี่ยว กิจการบางกิจการส่วนใหญ่จะเป็นกิจการที่มีขนาดเล็ก เป็นกิจการเจ้าของคนเดียว อาจทำการบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นไว้ในระบบบัญชีเดี่ยว เป็นการบันทึกรายการค้าอย่างง่าย เช่น การรับ-จ่ายเงินสด การซื้อสินค้า และการขายสินค้า โดยเก็บหลักฐานต่าง ๆ ไว้ประกอบรายการค้า อย่างไรก็ตามการบันทึกบัญชีโดยใช้ระบบบัญชีเดี่ยวจะไม่สามารถจัดทำงบการเงินได้ จึงทำให้กิจการจำเป็นต้องรวมรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทั้งหมดเพื่อจัดทำงบการเงินตามระบบบัญชีคู่อีกครั้งหนึ่ง

ระบบบัญชีเดี่ยว สำหรับการจัดทำงบกำไรขาดทุนนั้น ถ้ากิจการต้องการทราบเฉพาะยอดกำไร(ขาดทุน)สุทธิการคำนวณสามารถทำได้โดยใช้วิธีเปรียบเทียบ (Comparison Method) โดยใช้สถานภาพของกิจการต้นงวดกับปลายงวดมาเปรียบเทียบกัน

ระบบบัญชีเดี่ยว สำหรับกรณีที่กิจการต้องการทราบรายละเอียดต่าง ๆ ในงบกำไรขาดทุนด้วย จะต้องใช้วิธีวิเคราะห์ (Analysis Method) เพื่อใช้ข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อหายอดรายได้และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ให้ครบถ้วน

วิธีเปรียบเทียบ (Comparison Method) สมการบัญชี สินทรัพย์ = หนี้สิน - ทุน

วิธีเปรียบเทียบ (Comparison Method) ดังนั้นในการคำนวณหากำไร (ขาดทุน) สุทธิของกิจการ จะสามารถคำนวณได้จากการเปรียบเทียบทุนต้นงวดกับทุนปลายงวด ถ้าผลลัพธ์เป็นบวก แสดงว่ากิจการมี “กำไรสุทธิ” ถ้าตรงกันข้ามเป็น “ ขาดทุนสุทธิ “ สำหรับงวดนั้น ๆ อย่างไรก็ตามจะต้องคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงในส่วนทุนภายในงวดนั้นด้วย โดยอาจมีการเพิ่มทุน หรือลดทุนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการคำนวณกำไร(ขาดทุน)สำหรับงวด

วิธีวิเคราะห์ (Analysis Method) สำหรับวิธีการวิเคราะห์จะให้ข้อมูลยอดรายได้และค่าใช้จ่ายสำหรับงวดบัญชีนั้น ๆ โดยละเอียด โดยอาศัยข้อมูลสินทรัพย์ หนี้สินและทุนต้นงวด รายการค้าต่าง ๆ ภายในงวดทั้งรายรับและรายจ่าย และข้อมูลต่าง ๆ ที่เหลืออยู่ปลายงวด

ตัวอย่างที่ 1 (ในเอกสารประกอบการสอน)