“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
เรื่อง"แนวคิด ทิศทางการสร้างองค์ความรู้ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา"
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Graduate School Khon Kaen University
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิสัยทัศน์และนโยบายการบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แนะนำวิทยากร.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ยินดีต้อนรับ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
S and T Publications Narongrit Sombatsompop
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
ยินดีต้อนรับคณะเยี่ยมชื่นชม
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการขอรับรอง
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การนำผลการวิจัยไปใช้
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การบริหารการวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.โยธิน แสวงดี
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
การปรับเปลี่ยนผลักดันการพัฒนาด้านทรัพยากรบุคคล: Measures and Drives of Personnel work load กลุ่มที่ 2.1 ประธานกลุ่ม/ผู้นำเสนอ ผศ.ดร.อุดมศักดิ์ เห่วซึ่งเจริญ.
การวิจัยในงานประจำ.
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“การบริหารจัดการงานวิจัยและผลงานวิจัย” ศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ หัวหน้ากลุ่มวิจัย Polymer Processing and Flow (P-PROF) คณะพลังงานและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) 13-03-2003

วงจรการวิจัย โจทย์วิจัย นักวิจัย ผู้ใช้ผลงานวิจัย หน่วยงานภายนอก Proposal โจทย์วิจัย นักวิจัย 4Ms Applications Publications ผู้ใช้ผลงานวิจัย หน่วยงานภายนอก ผลงานวิจัย 13-03-2003

ผลลัพธ์โดยตรงและระยะยาวจากงานวิจัย (ความสอดคล้องกับวงจรวิจัย) สร้างคน หรือนักวิจัยมืออาชีพ สร้างองค์ความรู้ สร้างและพัฒนาหน่วยงาน สังคมและประเทศ ด้วยการวิจัย สร้างโจทย์ใหม่ของปัญหา 13-03-2003

ประเภทของงานวิจัย งานวิจัยพื้นฐาน (Basic Science Based) - เน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ โดยผ่านกลไกทางวิทยาศาสตร์ (ระยะยาว) งานวิจัยเชิงประยุกต์ (Application & Technology Based) - เน้นการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการใช้งานจริง ผ่านกลไกทางเทคโนโลยี (ระยะสั้น) งานวิจัยที่เป็นศาสตร์ของชาติหรือท้องถิ่น (National or Local Research) งานวิจัยของศาสตร์นานาชาติ (International Research) 13-03-2003

ลักษณะของงานวิจัย การออกแบบและจัดสร้าง (คิดค้น) การสร้างความรู้ใหม่ (ค้นพบ) การสร้างองค์ความรู้ใหม่ (ลึกซึ้ง) การขยายผลการศึกษาที่มีอยู่ (ต่อยอด) การรวบรวมหลักฐานที่ค้นพบแล้ว (จัดการและกระชับ) เพื่อหาข้อยกเว้นและข้อจำกัดจากผลงานวิจัยเดิม เชื่อมโยงผลงานวิจัยระหว่างสาขาวิชา (บูรณาการ) 13-03-2003

การจัดการการวิจัย (4Ms แนวปฏิบัติของผู้บรรยาย) Manpower : หัวหน้าทีมวิจัย หัวหน้ากลุ่มย่อย นักวิจัย นักศึกษา เจ้าหน้าที่บริหารงานวิจัย (การกระจายอำนาจ ที่มีจุดรวม) Money : ความต่อเนื่องของเงินทุนวิจัย (ภายในและภายนอก) Materials and Machines : ความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ และวัตถุดิบของงานวิจัย Management : ระบบการบริหารจัดการงานวิจัย (คล่องตัว แต่โปร่งใส ตรวจสอบได้) 13-03-2003

ผลงานวิจัยที่ดี ตอบคำถามของโจทย์และปัญหา และนำไปสู่องค์ความรู้ใหม่ ไม่ซ้ำซ้อนกับสิ่งที่มีอยู่แล้ว หรือหากซ้ำซ้อนควรได้ผลดีกว่า อธิบายได้อย่างชัดเจน (ว่าสอดคล้องหรือ/และขัดแย้งกับผลงานวิจัยอื่นๆ) มีความเป็นคุณภาพและความเป็นปริมาณ ได้ผลสัมฤทธิ์ที่แม่นยำ (good reproducibility) รู้สึกได้ถึงความสม่ำเสมอของตรรกะของผลการวิจัย เป็นที่ยอมรับจากสาธารณชนและนักวิชาการ ได้รับการเผยแพร่ในระดับคุณภาพสากล หรือ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ นำไปสู่โจทย์วิจัยใหม่ที่ลึกซึ้งและสูงกว่า 13-03-2003

การสนับสนุนการวิจัย วิจัยว่าทำไม คนของเราไม่ทำวิจัย มีงบประมาณก้นถุงเพื่อนักวิจัยใหม่ ระบบนักวิจัยพี้เลี้ยง (mentor) นโยบายการหาเงินต้องสูงกว่าการใช้เงิน มีเงินสมทบแก่ผู้ขอทุนภายนอกได้ จัดสรรค่าตอบแทนแก่ผู้ตีพิมพ์ผลงาน ตั้งเกณฑ์ผลงานวิจัยควบคู่การทำงาน ให้รางวัลกับผลงานวิจัยที่ดี (จริงๆ) เชื่อมประสานโครงสร้างการบริหาร (ผู้บริหาร) กับการวิจัย (นักวิจัย) ให้ทำงานวิจัยแบบกัดติด และต่อเนื่อง ประเมินการทำงานจากการวิจัย (ไม่ให้เทียบเท่า แต่แบ่งตามสายงาน) จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศเฉพาะทาง เลื่อนตำแหน่งจากผลงานวิจัย ไม่เลือกทางที่ง่ายกว่าสำหรับการวิจัย แต่มีขั้นบันได (สู่นักวิจัยอาชีพ) ให้นักวิจัยร่วมกำหนดนโยบายการวิจัยของหน่วยงาน กำหนดเกณฑ์ตำแหน่งวิชาการให้มีสัดส่วนผลงานวิจัย 13-03-2003