การค้าและการเงินระหว่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

“สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจประเทศไทยปี 2551
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การคลังและนโยบาย การคลัง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การค้าและการเงิน ระหว่างประเทศของไทย (ต่อ)
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 31 พฤษภาคม 2552
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 กันยายน 2552
โครงสร้างเงินลงทุน ณ 30 มิถุนายน 2552 พันธบัตรรัฐบาล 196 ล้านบาท = 34.56% เงินฝากธนาคาร 212 ล้านบาท = 37.47% ตราสารหนี้ธนาคารรับรอง 30 ล้านบาท = 5.34%
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ต้นทุน(บาท/กิโลกรัม)
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
สถานการณ์การเงินการคลัง
Free Trade Area Bilateral Agreement
1.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 สำนักการคลังและสินทรัพย์
1 รายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 29 ม.ค สำนักการคลังและสินทรัพย์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
กระชุ่มกระชวย (ค.ศ ) (พ.ศ )
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม.
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การค้าและการเงินระหว่างประเทศ

สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ ไม่มีประเทศใดในโลกที่สามารถผลิตสินค้า ได้ทุกชนิดตามที่ประเทศต้องการ ความแตกต่างที่ก่อให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ ความแตกต่างของทรัพยากรธรรมชาติ ความแตกต่างของต้นทุนการผลิตสินค้า

เส้น PPC กรณีการค้าระหว่างประเทศ สมมติให้ปัจจัยการผลิตมีเพียงปัจจัยแรงงาน ปัจจัยแรงงานมีความสามารถในการผลิตสินค้า ทั้ง 2 ชนิดได้เป็นอย่างดี เส้น PPC จะเป็นเส้นตรง

ถ้าประเทศ A และ B มีการผลิตสินค้า 2 ชนิด คือ ข้าวกับผ้า ถ้าใช้ปัจจัยแรงงานทั้งหมดที่มีอยู่ ในการผลิตสินค้า พบว่า ประเทศ A : ผลิตข้าวอย่างเดียวจะได้ข้าว 100 หน่วย ผลิตผ้าอย่างเดียวจะได้ผ้า 50 หน่วย ประเทศ B : ผลิตข้าวอย่างเดียวจะได้ข้าว 40 หน่วย ผลิตผ้าอย่างเดียวจะได้ผ้า 40 หน่วย

ถ้ายังไม่มีการค้าเกิดขึ้น ประเทศ A : จะผลิตและบริโภคข้าวได้ 60 หน่วย ผ้า 100 50 ประเทศ A ถ้ายังไม่มีการค้าเกิดขึ้น ประเทศ A : จะผลิตและบริโภคข้าวได้ 60 หน่วย 60 20 จะผลิตและบริโภคผ้าได้ 20 หน่วย

ถ้ายังไม่มีการค้าเกิดขึ้น ประเทศ B : จะผลิตและบริโภคข้าวได้ 30 หน่วย ผ้า 40 ประเทศ B 30 10 ถ้ายังไม่มีการค้าเกิดขึ้น ประเทศ B : จะผลิตและบริโภคข้าวได้ 30 หน่วย จะผลิตและบริโภคผ้าได้ 10 หน่วย

ถ้าประเทศทำการผลิตสินค้าเพียง ชนิดเดียว แล้วนำมาแลกเปลี่ยน 100 ประเทศ A 40 ประเทศ B 10 30 20 60 Total world output 90 ถ้าประเทศทำการผลิตสินค้าเพียง ชนิดเดียว แล้วนำมาแลกเปลี่ยน ถ้าประเทศทำการผลิตสินค้าทั้ง 2 ชนิด ผ้า ข้าว

เมื่อประเทศมุ่งผลิตสินค้าที่ตนชำนาญ ประชาชนในแต่ละประเทศบริโภคสินค้า ที่ผลิตขึ้นไม่หมด นำสินค้าที่เหลือไปขายให้อีกประเทศ เกิดการค้าระหว่างประเทศ

ประเทศ A : ผลิตข้าวทั้งหมด 100 หน่วย ตัวอย่าง ประเทศ A : ผลิตข้าวทั้งหมด 100 หน่วย บริโภคข้าว 70 หน่วย ส่งออก 30 หน่วย ประเทศ B : ผลิตผ้าทั้งหมด 40 หน่วย บริโภคผ้า 20 หน่วย ส่งออก 20 หน่วย

ก่อนการค้าระหว่างประเทศ ประเทศ A : บริโภคข้าว 60 หน่วย ผ้า 20 หน่วย ประเทศ B : บริโภคข้าว 30 หน่วย ผ้า 10 หน่วย หลังการค้าระหว่างประเทศ ประเทศ A : บริโภคข้าว 70 หน่วย ผ้า 20 หน่วย ประเทศ B : บริโภคข้าว 30 หน่วย ผ้า 20 หน่วย ทั้ง 2 ประเทศได้รับประโยชน์จาก การค้าระหว่างประเทศ

ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ ข้อสมมติพื้นฐาน เป็นการค้าแบบเสรี ปัจจัยการผลิตมีเพียงแรงงานและไม่สามารถเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศได้ ไม่มีค่าขนส่งในการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตและผลผลิต การผลิตใช้ระยะเวลาเท่ากัน

ประเทศจะผลิตสินค้าชนิดใดส่งออก สินค้านั้นจะมีต้นทุนการผลิตต่ำกว่า เมื่อเทียบกับประเทศอื่น ประเทศนั้นมีความชำนาญในการผลิตสินค้านั้น มากกว่า อาศัยหลักของการแบ่งงานกันทำ

 ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเด็ดขาด (Absolute Advantage) Adam Smith ประเทศใดที่สามารถผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน ได้มากกว่าในขณะที่ใช้ปัจจัยการผลิต (แรงงาน) จำนวนเท่ากัน จะผลิตสินค้านั้นส่งออก

ผลิตสินค้าได้มากกว่าเมื่อใช้ปัจจัยการผลิตเท่ากัน ประเทศที่ผลิตได้มากกว่าเพราะมีความชำนาญ มากกว่า ใช้ต้นทุนการผลิตต่ำกว่า ผลิตสินค้าชนิดนั้นส่งออก

แรงงาน 10 คน ต้นทุนต่ำกว่า ต้นทุนสูงกว่า ผลิตสินค้าส่งออก 100 ก.ก. 50 ก.ก. 0.1 คน / ก.ก. 0.2 คน / ก.ก. ต้นทุนต่ำกว่า ต้นทุนสูงกว่า ผลิตสินค้าส่งออก สั่งสินค้านำเข้า

สมมติ ไทยและซาอุฯ มีแรงงาน 100 คนเท่ากัน และทั้ง 2 ประเทศผลิตสินค้า 2 ชนิด คือ ข้าวและน้ำมัน ถ้าไทยผลิตข้าวอย่างเดียวโดยใช้แรงงานทั้งหมดจะได้ข้าว 50 เกวียน ผลิตน้ำมัน “ น้ำมัน 25 ถัง ถ้าซาอุฯผลิตข้าวอย่างเดียวโดยใช้แรงงานทั้งหมดจะได้ข้าว 40 เกวียน ผลิตน้ำมัน “ น้ำมัน 100 ถัง

ผลผลิตของแรงงาน 100 คน ถ้าผลิตสินค้าแต่ละชนิด 25 40 50 ผลผลิตของแรงงาน 100 คน ถ้าผลิตสินค้าแต่ละชนิด สินค้า น้ำมัน (ถัง) ข้าว (เกวียน) ซาอุฯ ไทย ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเด็ดขาด

ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยสินค้า ข้าว : ไทย ข้าว 50 เกวียน ใช้แรงงาน 100 คน ข้าว 1 เกวียน ใช้แรงงาน 100 50 = 2 คน

น้ำมัน 1 ถัง ข้าว 1 เกวียน ต้นทุนการผลิตสินค้า สินค้า ซาอุฯ ไทย ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเด็ดขาด = 2 คน 100 50 = 4 คน 25 = 2.5 คน 40 = 1 คน

ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเด็ดขาด ไทย มีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ในการผลิตข้าว ซาอุฯ มีความได้เปรียบโดยสมบูรณ์ในการผลิตน้ำมัน ไทย : จะผลิตข้าวอย่างเดียว และเสนอข้าวเป็น สินค้าออกเพื่อแลกกับน้ำมัน ซาอุฯ : จะผลิตน้ำมันอย่างเดียว และเสนอน้ำมัน เป็นสินค้าออกเพื่อแลกกับข้าว

 ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) David Ricardo ประเทศใดที่สามารถผลิตสินค้าได้ด้วย ต้นทุนเปรียบเทียบที่น้อยกว่าอีกประเทศหนึ่งจะผลิตสินค้านั้นส่งออก

ข้าว 50 เกวียน เมื่อใช้แรงงานเท่ากันจะผลิตน้ำมันได้ 25 ถัง ต้นทุนเปรียบเทียบ ข้าว : ไทย ข้าว 50 เกวียน เมื่อใช้แรงงานเท่ากันจะผลิตน้ำมันได้ 25 ถัง ข้าว 1 เกวียน เมื่อใช้แรงงานเท่ากันจะผลิตน้ำมันได้ 25 50 = 0.5 ถัง

ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ = ข้าว 0.4 เกวียน ( 40 / 100 ) = ข้าว 2 เกวียน ( 50 / 25 ) น้ำมัน 1 ถัง = น้ำมัน 2.5 ถัง ( 100 / 40 ) = น้ำมัน 0.5 ถัง ( 25 / 50 ) ข้าว 1 เกวียน ต้นทุนเปรียบเทียบ สินค้า ซาอุฯ ไทย

ผลิตสินค้า ก. เพิ่มขึ้น ต้องเสียสละสินค้า ข. ข้าว : ถ้า ไทย ผลิตข้าวเพิ่มขึ้น 1 เกวียน จะต้องเสียสละน้ำมัน 0.5 ถัง ถ้า ซาอุฯ ผลิตข้าวเพิ่มขึ้น 1 เกวียน จะต้องเสียสละน้ำมัน 2.5 ถัง น้ำมัน : ถ้า ไทย ผลิตน้ำมันเพิ่มขึ้น 1 ถัง จะต้องเสียสละข้าว 2 เกวียน ถ้า ซาอุฯ ผลิตน้ำมันเพิ่มขึ้น 1 ถัง จะต้องเสียสละข้าว 0.4 เกวียน ผลิตสินค้า ก. เพิ่มขึ้น ต้องเสียสละสินค้า ข. ต้นทุนค่าเสียโอกาส ต้นทุนเปรียบเทียบ

ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ = ข้าว 0.4 เกวียน ( 40 / 100 ) = ข้าว 2 เกวียน ( 50 / 25 ) น้ำมัน 1 ถัง = น้ำมัน 2.5 ถัง ( 100 / 40 ) = น้ำมัน 0.5 ถัง ( 25 / 50 ) ข้าว 1 เกวียน ต้นทุนเปรียบเทียบ สินค้า ซาอุฯ ไทย

ทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ไทย มีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการผลิตข้าว ซาอุฯ มีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการผลิตน้ำมัน ไทย : จะผลิตข้าวอย่างเดียว และเสนอข้าวเป็น สินค้าออกเพื่อแลกกับน้ำมัน ซาอุฯ : จะผลิตน้ำมันอย่างเดียว และเสนอน้ำมันเป็น สินค้าออกเพื่อแลกกับข้าว

นโยบายการค้าระหว่างประเทศ นโยบายการค้าเสรี นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน

1. นโยบายการค้าเสรี ไม่มีการกีดกันทางการค้า พยายามขจัดข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ขัดขวางการค้าระหว่างประเทศ

2. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน มาตรการการแทรกแซง รูปแบบภาษี รูปแบบที่ไม่ใช่ภาษี

เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ปี 1930 เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก เก็บภาษีขาเข้าสูงขึ้น สงครามการค้า ทุกฝ่ายเสียประโยชน์ GATT (General Agreement on Tariffs and Trade) เพื่อปฎิรูประบบการค้าโลก ปี 1947 WTO (World Trade Organization) 1 มกราคม 1995 ปี 1994

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund : IMF) : รักษาเสถียรภาพของระบบการเงิน ระหว่างประเทศ

2. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน (มาตรการการแทรกแซง) รูปแบบที่ไม่ใช่ภาษี 2.1 มาตรการจำกัดการค้าเชิงปริมาณ หรือการกำหนดโควต้านำเข้า 2.2 มาตรการแทรกแซงในลักษณะอื่นๆ 1. การทุ่มตลาด หรือการจ่ายเงินอุดหนุน การส่งออก 2. กฏระเบียบทางวิธีการและอื่นๆ

กฏระเบียบทางวิธีการและอื่นๆ กฏเกณฑ์ที่เกี่ยวกับความสะอาดและปลอดโรค การกำหนดมาตรฐานของสินค้านำเข้า การกำหนดว่าสิ่งของที่รัฐบาลซื้อเข้ามาใช้ในราชการนั้นต้องเป็นสิ่งของที่ผลิตในประเทศ การกำหนดว่าสินค้าอุตสาหกรรมบางชนิดที่ผลิตภายในประเทศต้องใช้ชิ้นส่วนที่มาจากแหล่งผลิตภายในประเทศ กระบวนการผลิตและการใช้แรงงานจะต้องไม่ละเมิด สิทธิมนุษยชน กระบวนการผลิตจะต้องไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ฯลฯ

การเงินระหว่างประเทศ

อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate) สินค้า ก. ราคา 40 บาท สินค้า ก. 1 ชิ้น ราคา 40 บาท ถ้าสินค้า ก. คือ เงิน 1 ดอลลาร์ เงิน 1 เหรียญ ราคา 40 บาท อัตราแลกเปลี่ยน

อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate) ราคาของเงินตราต่างประเทศจำนวน 1 หน่วย จำนวนของเงินตราในประเทศที่เท่ากับ 1 หน่วยของเงินตราต่างประเทศ

อุปสงค์ต่อเงินตราต่างประเทศ ความต้องการของบุคคลในประเทศที่มีต่อเงินตราต่างประเทศเพื่อการดำเนินกิจกรรมต่างๆ - การซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศ - การชำระเงินกู้จากต่างประเทศ - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปต่างประเทศ - การส่งเงินให้บุตรหลานที่ศึกษาต่างประเทศ - การลงทุนในต่างประเทศ ฯลฯ

อุปสงค์ต่อเงินตราต่างประเทศ ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น ราคาเงินตราต่างประเทศเพิ่มขึ้น ความต้องการเงินตราต่างประเทศลดลง ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนลดลง ราคาเงินตราต่างประเทศลดลง ความต้องการเงินตราต่างประเทศเพิ่มขึ้น

อุปทานต่อเงินตราต่างประเทศ ปริมาณของเงินตราต่างประเทศที่ประเทศมีอยู่ จากการดำเนินกิจกรรมต่างๆ - การขายสินค้าและบริการไปยังต่างประเทศ - การกู้เงินจากต่างประเทศ - การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ - การท่องเที่ยวจากต่างประเทศ - แรงงานไทยส่งเงินมาให้ครอบครัว - เงินบริจาค ฯลฯ

อุปทานต่อเงินตราต่างประเทศ ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น ราคาเงินตราต่างประเทศเพิ่มขึ้น ปริมาณเงินตราต่างประเทศเพิ่มขึ้น ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนลดลง ราคาเงินตราต่างประเทศลดลง ปริมาณเงินตราต่างประเทศลดลง

อัตราแลกเปลี่ยน (บาท/ดอลลาร์) ปริมาณเงินดอลลาร์ อุปทานต่อเงินดอลลาร์ อุปสงค์ต่อเงินดอลลาร์ 40 ราคาซื้อ ราคาขาย < 45

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่หรือตายตัว (Fixed Exchange Rate) ระบบที่อิงค่าเงินไว้กับเงินสกุลเดียว (Single Peg System) ระบบที่ผูกค่าเงินไว้กับตะกร้าเงิน (Multiple Peg System)

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเสรี (Freely Fluctuating Exchange Rate) หรือระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว (Floating Exchange Rate) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวเสรี (Independent Float System) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการ จัดการ (Managed Float System)

ดุลการค้า ความแตกต่างระหว่างมูลค่าสินค้าส่งออกกับมูลค้าสินค้านำเข้าในระยะเวลา 1 ปี

ดุลการชำระเงิน (Balance of Payments) บันทึกรายการรับและจ่ายเงินตราต่างประเทศ ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระหว่างผู้มีถิ่นฐานในประเทศนั้นกับผู้มีถิ่นฐานของประเทศอื่นๆ ในเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งปกติ จะคิด 1 ปี

รายการทางเศรษฐกิจ รายการที่ก่อให้เกิดการโอนอำนาจความเป็น เจ้าของสินค้าบริการ และสินทรัพย์ต่างๆ ของผู้มีถิ่นฐานของประเทศหนึ่ง ไปยังผู้มีถิ่นฐานของอีกประเทศหนึ่ง ประเทศต้องจ่ายเงินให้กับต่างประเทศ รายจ่าย ( - ) ประเทศได้รับเงินจากต่างประเทศ รายรับ ( + )

- 500 รับ > จ่าย เงินเหลือ 500 ( + 500 ) บัญชีเงินฝาก เงินฝากธนาคาร ของขวัญ 3,000 อาหาร 4,500 5,000 รวม 1,000 ของใช้ แม่ให้มา รายจ่าย ( - ) รายรับ ( + ) รายการ บัญชีรายรับรายจ่าย เดือนมกราคม บัญชีเงินฝาก เงินฝากเพิ่มขึ้น - 500 รับ > จ่าย เงินเหลือ 500 ( + 500 )

รับ < จ่าย เงินขาด 500 ( - 500 ) บัญชีเงินฝาก เงินฝากลดลง + 500 500 ถอนเงินธนาคาร 1,000 ซ่อมรถ 3,500 อาหาร 5,500 5,000 รวม ของใช้ แม่ให้มา รายจ่าย ( - ) รายรับ ( + ) รายการ บัญชีรายรับรายจ่าย เดือนกุมภาพันธ์ บัญชีเงินฝาก เงินฝากลดลง + 500 รับ < จ่าย เงินขาด 500 ( - 500 )

บัญชีดุลการชำระเงิน (Balance of Payments) บัญชีเดินสะพัด (Current Account) บัญชีทุนหรือบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย (Capital Account) บัญชีเงินโอนหรือเงินบริจาค (Transfer Account) บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve Account)

1. บัญชีเดินสะพัด (Current Account) บัญชีดุลการค้า (Trade Account) บัญชีดุลบริการ (Service Account)

บัญชีดุลการค้า (Trade Account) บัญชีที่แสดงมูลค่าการส่งออกสินค้าและ มูลค่าการนำเข้าสินค้า มูลค่าสินค้าส่งออก > มูลค่าสินค้านำเข้า ดุลการค้าเกินดุล (Trade Surplus) มูลค่าสินค้าส่งออก < มูลค่าสินค้านำเข้า ดุลการค้าขาดดุล (Trade Dificit) (+) (-)

ประเทศคู่ค้าสำคัญของไทย หน่วย : พันล้านดอลลาร์ 2540 2541 2542 2543 2544 การส่งออก ญี่ปุ่น 8.8 7.4 8.2 10.2 10.0 สหรัฐอเมริกา 11.3 12.1 12.6 14.8 13.2 EU 9.3 9.7 9.8 11.0 10.5 ASEAN 10.8 13.4 การนำเข้า 16.2 15.3 13.8 8.7 5.9 6.3 7.3 7.1 8.9 5.2 5.8 7.5 7.7 6.0 7.9 10.3 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

บัญชีดุลบริการ (Service Account) บัญชีที่แสดงมูลค่าการบริการที่เราให้หรือรับจากต่างประเทศ มูลค่าบริการส่งออก > มูลค่าบริการนำเข้า ดุลบริการเกินดุล มูลค่าบริการส่งออก < มูลค่าบริการนำเข้า ดุลบริการขาดดุล (+) (-)

ดุลบริการของไทย หน่วย : พันล้านดอลลาร์ ดุลบริการ บริการรับ 2540 2541 2543 2545 (Q1) 2545 (Q2) 2545 (Q3) ดุลบริการ 4.4 5.2 4.6 1.4 0.7 1.2 บริการรับ 15.7 13.2 13.8 3.8 3.4 3.7 การท่องเที่ยว 7.6 6.2 7.4 2.1 1.6 1.9 การขนส่ง 2.4 2.6 3.2 0.8 บริการอื่นๆ 5.6 4.2 3.1 0.9 1.0 บริการจ่าย 11.2 7.9 9.2 2.3 2.5 2.7 0.6 1.1 0.2 0.3 6.4 5.0 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

2. บัญชีทุนหรือบัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย (Capital Account) บัญชีแสดงมูลค่าของการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ได้แก่ หุ้นบริษัท หลักทรัพย์ พันธบัตรรัฐบาล สินเชื่อ เป็นต้น ประกอบด้วย : เงินทุนรัฐบาล เงินทุนเอกชน

3.บัญชีเงินโอนหรือเงินบริจาค (Transfer Account) บันทึกรายการเกี่ยวกับเงินบริจาค เงินช่วยเหลือและเงินโอนต่างๆ ระหว่างประเทศ โดยเอกชนหรือรัฐบาล รวมถึงรายการที่อยู่ในรูปของสิ่งของด้วย

4. บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ (International Reserve Account) บันทึกรายการเกี่ยวกับการไหลเข้าออกของ ทุนสำรองระหว่างประเทศ โดยบัญชีนี้จะมี หน้าที่สำคัญคือ เพื่อขจัดจำนวนแตกต่างระหว่างรายรับรายจ่ายของบัญชีดุลการชำระเงินให้เป็นดุลการชำระเงินที่สมดุล

ประเทศมีทุนสำรองระหว่างประเทศไว้เพื่อ ใช้เป็นทุนสำรองเงินตราในการออกธนบัตร ใช้เป็นทุนรักษาอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เพื่อให้อัตราแลกเปลี่ยนมีเสถียรภาพ ใช้เป็นทุนหมุนเวียนสำหรับชำระหนี้ให้กับต่างประเทศ

ดุลการชำระเงินเกินดุล รายรับ > รายจ่าย จาก 2 บัญชีแรก ดุลการชำระเงินเกินดุล บัญชีทุนสำรองมีค่าติดลบ ทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น รายรับ < รายจ่าย ดุลการชำระเงินขาดดุล บัญชีทุนสำรองมีค่าเป็นบวก ทุนสำรองระหว่างประเทศลดลง

ดุลการชำระเงิน สินค้าออก สินค้าเข้า ดุลการค้า ดุลบริการและบริจาค หน่วย : พันล้านดอลลาร์ 1995 1996 1997 1998 1999 2000 2001 สินค้าออก 55.7 54.6 56.7 52.8 56.8 67.8 63.1 สินค้าเข้า 70.3 70.8 61.3 40.6 47.5 62.4 60.6 ดุลการค้า - 14.6 - 16.1 - 4.6 12.2 9.2 5.4 2.5 ดุลบริการและบริจาค 1.4 1.7 1.5 2.0 3.1 3.8 3.7 ดุลบัญชีเดินสะพัด - 13.2 - 14.3 - 3.1 14.2 12.4 9.3 6.2 ดุลบัญชีทุน 21.9 19.5 - 4.3 - 9.7 - 7.9 - 10.2 - 5.0 เอกชน 20.8 18.2 - 7.6 - 15.4 - 13.7 - 4.1 รัฐบาล 1.1 1.3 1.8 1.6 - 0.3 - 0.5 ธ.แห่งประเทศไทย 3.9 4.0 - 0.1 ความคลาดเคลื่อนสุทธิ - 1.4 - 2.9 - 2.8 0.02 - 0.6 0.1 ดุลการชำระเงิน 7.2 2.1 - 10.6 4.5 - 1.6 ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย

การแก้ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด เพิ่มผลผลิตภายในประเทศและส่งเสริมการส่งออก เพิ่มอุปทานของเงินในระบบเศรษฐกิจโดยใช้นโยบายการเงิน ปรับโครงสร้างภาษีอากรให้เอื้อต่อการผลิตในประเทศ รัฐต้องให้ความมั่นใจกับนักลงทุนทั้งภายในและ จากต่างประเทศ จัดหาตลาดในต่างประเทศ

การแก้ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด (ต่อ) การลดการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ รณรงค์และปลูกฝังให้คนไทยเปลี่ยนค่านิยม หันมาใช้สินค้า และบริการที่ผลิตในประเทศ ทำให้ดุลบริการเกินดุลมากขึ้น

การแก้ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด (ต่อ) การลดค่าของเงิน (Devaluation) ส่งออกได้มากขึ้น ราคาสินค้าส่งออก ในตลาดต่างประเทศถูกลง ราคาสินค้านำเข้า ตลาดในประเทศสูงขึ้น นำเข้าลดลง การขาดดุลลดลง หรือ อาจทำให้เกินดุลได้

เดิม : อัตราแลกเปลี่ยนคือ US$ 1 = 20 บาท การลดค่าของเงิน เดิม : อัตราแลกเปลี่ยนคือ US$ 1 = 20 บาท ใหม่ : อัตราแลกเปลี่ยนคือ US$ 1 = 40 บาท ( 1 บาท = US$ 0.05 ) ( 1 บาท = US$ 0.025 ) ถ้าสินค้าไทยราคา 100 บาท ตลาดต่างประเทศราคา ถ้าสินค้าต่างประเทศราคา $100 ในไทยราคา 2,000 บาท $ 5 4,000 บาท $ 2.5

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ การที่ประเทศมากกว่าหนึ่งประเทศขึ้นไป มารวมกันอย่างเป็นทางการ เพื่อเชื่อมเศรษฐกิจของแต่ละประเทศใน ภูมิภาคเดียวกัน

ระดับของการรวมกลุ่ม เขตลดพิกัดอัตราภาษีศุลกากร (Preferential Area) เขตการค้าเสรี (Free Trade Area) สหภาพศุลกากร (Customs Union) ตลาดร่วม (Common Market) สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union)

ชมรมสิทธิพิเศษทางการค้า เขตการค้าเสรี สหภาพศุลกากร ตลาดร่วม สหภาพเศรษฐกิจ ASEAN AFTA, NAFTA, EFTA, LAFTA EEC (European Economic Community) EU (European Union) : สหภาพยุโรป 1 มกราคม 1995