โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1. วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ป.4
เศรษฐกิจพอเพียงกับบริการสุขภาพ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ยุ ทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพ เศรษฐกิจพอเพียง กับ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง.
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ปัญหาความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ผู้สอน อ.ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ระบบรับรองมาตรฐาน แผนชุมชน
รูปแบบแผนชุมชน.
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิสัยทัศน์ Vision สหกรณ์ที่มีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อม นำพาคนสหกรณ์มีความสุข.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
Amphawa Sustainable City
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย
เกษตรทฤษฎีใหม่.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
“ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนทุก คนได้เรียนอย่างทั่วถึง มี คุณธรรม มีความรู้ ความสามารถ การอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความ มี สุขภาพดี มีทักษะอาชีพตาม.
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
การจัดทำแผนชุมชน.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550 โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550 กรอบแนวคิด สร้างคนและสร้างความรู้สู่สังคมคุณธรรม คุณภาพ สมรรถภาพและ ประสิทธิภาพ

2. กิจกรรม การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม แนวทางการดำเนินชีวิตอยู่บนหลักความพอดี พอประมาณ และมีเหตุผล

2. กิจกรรม การศึกษาเรียนรู้ร่วมกันกับปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นำชุมชนในเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2. กิจกรรม ศึกษาศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการไม่เบียดเบียนทรัพยากรธรรมชาติ

2. กิจกรรม การจัดทำเอกสารสรุปผลการเรียนรู้และข้อเสนอแนะจากการเรียนรู้ที่นำไปสู่สังคมเข้มแข็งให้ยั่งยืน

3. แนวทางการจัดกิจกรรม 1.สถาบันการศึกษาต้องจัดการปฐมนิเทศเพื่อการสร้าง ความเข้าใจให้แก่นิสิตนักศึกษา - ความเป็นมาของโครงการ - ลักษณะชุมชนที่ปฏิบัติ - กรอบการเรียนรู้ในชุมชน เป้าหมายมุ่งหวัง - แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

3. แนวทางการจัดกิจกรรม 2. เรียนรู้วิถีชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง สมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย กรอบการเรียนรู้ การศึกษาโครงสร้างของชุมชนที่เข้มแข็ง วัฒนธรรมชุมชนที่นำไปสู่ชุมชนเข้มแข็งฯ

3. แนวทางการจัดกิจกรรม เศรษฐกิจชุมชนอย่างพึ่งตนเอง @การประกอบอาชีพของคนในชุมชน (พึ่งตนเอง, พึ่งพาตลาด) @เอกลักษณ์ทางเศรษฐกิจ @การช่วยเหลือเกื้อกูลทางเศรษฐกิจในชุมชน

3. แนวทางการจัดกิจกรรม การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนของชุมชน @ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญร่วมกันในชุมชน @ การใช้ทรัพยากรอย่างมีจิตสำนึก รู้คุณค่า มีประสิทธิภาพ

3. แนวทางการจัดกิจกรรม วิถีประชาธิปไตยในชุมชน @การเรียนรู้วิถีประชาธิปไตยในชุมชน (วิธีการ @ กระบวนการ สละสิทธิส่วนตัวเพื่อส่วนรวม ความเท่าเทียม) @ การมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน

3. แนวทางการจัดกิจกรรม การสร้างความสมานฉันท์ในชุมชน @วิธีการ/กลยุทธ์ในการสร้างความสมานฉันท์ @ การจัดการความขัดแย้งในชุมชน

3. แนวทางการจัดกิจกรรม การสร้างภูมิคุ้มกันของชุมชน @ วิธีการสร้างความพร้อม/ภูมิคุ้มกันของชุมชน อาทิ @ ชีวิต @ จิตใจ @ สุขภาพ @ สิ่งแวดล้อม @ เศรษฐกิจ @ สังคม @ การเมืองฯลฯ)

3. แนวทางการจัดกิจกรรม ปราชญ์ชาวบ้านในชุมชน @แหล่งภูมิปัญญาในชุมชน (วัด, บุคคล) @ ขอบข่าย/ประเภท องค์ความรู้ในชุมชน ฯลฯ

3. แนวทางการจัดกิจกรรม 3. วิเคราะห์ชุมชน - วิเคราะห์จุดเด่น - ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จที่ทำให้ชุมชน เข้มแข็ง - ปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อความเข้มแข็งของชุมชน (เชิงประจักษ์) - ข้อเสนอแนะ (ต่อชุมชน , ต่อสถาบันอุดมศึกษา , ต่อนิสิตนักศึกษา)

3. แนวทางการจัดกิจกรรม 4. สรุปองค์ความรู้ / ผลการเรียนรู้ ที่ทำให้เกิดสังคมคุณธรรม นำชีวิต - เศรษฐกิจพอเพียง - สมานฉันท์ - สันติวิธี - วิถีประชาธิปไตย

3. แนวทางการจัดกิจกรรม 5. การเผยแพร่ (เฉพาะประเด็นที่ประสบความสำเร็จ)

3. แนวทางการจัดกิจกรรม 6 การจัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานโครงการ @จัดทำเอกสารรายงานผลการปฏิบัติงาน @ เป็นผลิตภัณฑ์ @ แผ่นภาพ @ แผ่นดิสก์ หรืออื่นๆ

3. แนวทางการจัดกิจกรรม เอกสารสรุปผล ควรประกอบด้วย - บทนำ - วิธีการศึกษา - สภาพทั่วไปของชุมชน - ผลการสรุปการศึกษา / เรียนรู้ ตามกรอบที่กำหนด ต่อ

3. แนวทางการจัดกิจกรรม - ปัญหาและอุปสรรคโดยรวมในการดำเนินกิจกรรม - ข้อสรุปและเสนอแนะจากการศึกษาเรียนรู้ชุมชนสำหรับ - นำเสนอต่อรัฐบาล - นำเสนอต่อหน่วยงานระดับชาติและระดับชุมชน

3. แนวทางการจัดกิจกรรม ภาคผนวก - รายชื่อนิสิตนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาภาคสนาม - หน่วยงาน องค์กรร่วมดำเนินการและที่ ให้การสนับสนุน ฯลฯ