เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา โดย... อารีย์ เพลินชัยวาณิช
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ ทางด้านคณิตศาสตร์ ปัญหาที่มักจะพบบ่อยๆ ไม่รู้จักค่าของตัวเลขหรือจำนวน มีปัญหาเรื่องการเปรียบเทียบ มีปัญหาเรื่องสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
มีปัญหาเกี่ยวกับค่าประจำหลัก มีปัญหาการบวกที่มีการทด การลบที่มีการยืม การคูณที่มีการทด หรือตัวคูณมีหลายหลัก การหารสั้นและหารยาว
เรื่องเกี่ยวกับเวลา ค่าของเงิน เรื่องเกี่ยวกับเศษส่วน ทศนิยม การชั่ง ตวง วัด รูปเรขาคณิต และรูปทรงเรขาคณิต การแก้ปัญหาโจทย์ ฯลฯ
สาเหตุของปัญหาในการเรียนคณิตศาสตร์ ทักษะการรับรู้ทางสายตา ทักษะภาษาทางคณิตศาสตร์ ทักษะด้านความจำ ทักษะการจัดลำดับ
ทักษะการแก้โจทย์ปัญหา ทักษะความเข้าใจเกี่ยวกับมิติสัมพันธ์ ฯลฯ
หลักการในการจัดกิจกรรม ใช้การสังเกตด้วยการมองเห็นและการได้ยิน การสัมผัสของจริง การเคลื่อนไหวหรือมีการได้ปฏิบัติด้วยตนเอง การใช้สี หรือศิลปะ การใช้การขับร้องหรือดนตรี การจินตนาการ การมองเห็นในภาพรวมก่อน
องค์ประกอบที่สำคัญของวิชาคณิตศาสตร์ ความคิดรวบยอด ทักษะการคิดคำนวณ การแก้โจทย์ปัญหา
การสอนก่อนการนับ รูปร่าง ชื่อ คุณสมบัติสิ่งของ การคัดแยกหรือการจำแนก รูปร่าง ชื่อ คุณสมบัติสิ่งของ การคัดแยกหรือการจำแนก การจัดหมวดหมู่ การเปรียบเทียบ การจับคู่
การคัดแยกสิ่งของ การคัดแยกสี มี 2 สี หรือ 3 สี หรือหลายสี การคัดแยกสี มี 2 สี หรือ 3 สี หรือหลายสี การคัดแยกรูปร่าง คล้ายกัน และต่างกัน การคัดแยกประเภท เช่น ขวด กระป๋อง ถ้วย ช้อน การคัดแยกขนาด เท่ากันและต่างกัน การคัดแยกโดยการสัมผัสด้วยมือ การคัดแยกโดยการสังเกตด้วยการเห็น
การจัดเป็นหมวดหมู่ ของจริง สิ่งของจำลอง หรือรูปภาพ เกี่ยวกับ ของจริง สิ่งของจำลอง หรือรูปภาพ เกี่ยวกับ * เครื่องใช้ภายในบ้าน * สิ่งของที่พบเห็นในสถานที่ทั่วไป * เสื้อผ้าหรือเครื่องแต่งกาย * สัตว์ประเภทต่างๆ * อาหาร ผัก หรือผลไม้ประเภทต่างๆ * รูปร่าง ขนาด พื้นผิว สี ฯลฯ
การเปรียบเทียบสิ่งของ เรียงลำดับสูง – ต่ำ (เตี้ย) เรียงลำดับกว้าง – แคบ เรียงลำดับสั้น – ยาว เรียงลำดับหนา – บาง เรียงลำดับใหญ่ – เล็ก เรียงลำดับหนัก – เบา ฯลฯ
การจับคู่สิ่งของ การจับคู่สิ่งของที่เป็นส่วนประกอบของกันที่มีลักษณะเหมือนกัน การจับคู่สิ่งของที่เป็นส่วนประกอบของกันที่มีลักษณะต่างกันกัน การจับคู่สิ่งของที่ใช้ร่วมกัน หรือที่มีความสัมพันธ์ การจับคู่ตามที่กำหนด ฯลฯ
การจับคู่สมาชิกภายในเซ็ตแบบ 1 ต่อ 1 การจับคู่สมาชิกภายในเซ็ตแบบ 1 ต่อ 1
การจับคู่สมาชิกภายในเซ็ต
การจับคู่สมาชิกภายในเซ็ต
การสอนเกี่ยวกับจำนวน การนับจำนวนเริ่มจากจำนวนหนึ่ง มีสิ่งของจำนวนหนึ่ง(อัน) และมีเพิ่มอีกจำนวนหนึ่ง(อัน) จำนวนใหม่เรียกว่า จำนวนสอง(อัน) มีสิ่งของจำนวนสอง (อัน) และมีเพิ่มอีกจำนวนหนึ่ง(อัน) จำนวนใหม่เรียกว่า จำนวนสาม(อัน) ฯลฯ
การสอนเกี่ยวกับจำนวน นักเรียนต้องมีความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับจำนวน 1. การนับรวม 2. การนับแบบ หนึ่งต่อหนึ่ง 3. ความคงที่ 4. ความเข้าใจค่าและความสัมพันธ์เกี่ยวกับจำนวน
Touch Math 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0
การกำหนดค่าตัวเลขในสัญลักษณ์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.