คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการ กพฐ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ดร.ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Advertisements

โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
น.ส.เสริมสุข ธรรมกิจไพโรจน์ ผอ.กลุ่มสารสนเทศ สนผ. สพฐ.
โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
การพัฒนาครูพลศึกษาในประเทศไทย
ระบบฐานข้อมูลของสพฐ. ปี 2557
จุดเน้น สพฐ. ปี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก
ทิศทางการพัฒนาการจัดการศึกษา สำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การประเมินองค์กรแบบสมดุล (The Balance Scorecard by Kaplan & Norton)
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
นโยบาย สพฐ. ปี
การดำเนินงาน สำหรับ สพท. เข้าที่
การตรวจสอบข้อมูลประชากร
การจัดตั้งงบประมาณ ปี 2558 งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ และสิ่งก่อสร้าง
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
ข้อควรจำและปัญหาที่ พบบ่อยๆ ทั่วไป 1. ต้องปรับหน้าจอเป็น 1024 x 768 pixels โดยเฉพาะ Explorer7 2. โรงเรียน หรือ สพท. ที่ไม่สามารถเข้าประชุม ได้ให้ติดตามรายละเอียดย้อนหลัง.
การนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้
กลุ่มวิจัยและพัฒนานโยบาย
การขยายห้องเรียนพิเศษของสถานศึกษา
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
แนวทางการจัดทำแผนบริหารและพัฒนากำลังคน: Workforce Planning and Development Worksheet ดร.สุรพงษ์ มาลี ศูนย์บริหารกำลังคนภาครัฐ สำนักพัฒนาระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทน.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒
ปีการศึกษา 2555 กับ ปีการศึกษา 2556
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
1. ข้อมูลพื้นฐานของ 1) วิสัยทัศน์ 2) พันธกิจ 3) อำนาจหน้าที่
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียน
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
My school.
ฐานข้อมูลและข้อมูลการศึกษา
แนวทางการเขียน แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ ของสถานศึกษา
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
งานฝาก... ฝากงาน รังสรรค์ มณีเล็ก รองเลขาธิการ กพฐ.
My school.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
นโยบาย กระทรวงศึกษาธิกา ร นำเสนอในที่ประชุม ผอ. สพท. ทั่วประเทศ ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๖ วันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ณ โรงแรมรามา การ์เด้น กรุงเทพฯ นายเสริมศักดิ์
ประชุมผู้บริหาร สพป.มค.3
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การประชุมการจัดทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล โปรแกรม DATA CENTER 2011
เล่าสู่กันฟัง ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
Company LOGO โรงเรียนปราสาทเบงวิทยา ตำบลกาบเชิง อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 33 โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
นโยบาย ยกระดับคุณภาพ การศึกษา. ๑. ระบบการ สอบ ๑. ๑ เนื้อหาสาระที่ใช้ออก ข้อสอบ ๑. ๒ รูปแบบของข้อสอบ ๑. ๓ การเตรียมพร้อมให้ นักเรียนคุ้นเคย กับวิธีการตอบ.
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการ กพฐ. โครงการอบรมเทคนิคการวางแผน SCHOOL MAPPING คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการ กพฐ.

สิ่งที่ขอให้ทำเร่งด่วน มิติโอกาส พิจารณาโรงเรียนที่ไม่มีนักเรียน และที่ควรยุบ ให้ยุบ โรงเรียนขนาดเล็กมากให้ทำ SCHOOL MAPPING พิจารณายุบ โรงเรียนที่ควรจะเกิดขึ้นใหม่ เหมาะสม ครอบคลุม สมเหตุสมผล มีโรงเรียนรองรับไม่เพียงพอ พิจารณาจัดตั้ง ขยายชั้นเรียน อาจจะเป็นในบางระดับชั้น โดยเฉพาะพื้นที่พิเศษ SCHOOL MAPPING ควรบอกความขาด/เกิน/เพียงพอ

สิ่งที่ขอให้ทำเร่งด่วน มิติคุณภาพ * ใช้มิติคุณภาพของ สมศ. NT อื่น ๆ มาพิจารณา ความเพียงพอและความเป็นธรรม อาจใช้เกณฑ์ สมศ. * หากมีโรงเรียนเพียงพอ ผ่านเกณฑ์ สมศ. แล้วให้ดูคะแนน NT (ต่อยอด)

สิ่งที่ขอให้ทำเร่งด่วน SCHOOL MAPPING -ไม่จำเป็นต้องเหมือนกันในทุก สพท. หากแต่ขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละพื้นที่ ซึ่งสามารถอธิบายได้ทั้ง ๒ มิติ ดังกล่าว -การเก็บตัวเลขมาต้องมีเป้าหมายและรู้จักการนำตัวเลขไปใช้ในการวางแผน และต้องรู้จักการตั้งโจทย์ก่อนเรื่องความเพียงพอ เพื่อจะจัดการศึกษาฟรี ๑๒ ปี ภายใน ๓ เดือน ให้ ผอ.สพท. ได้นำเสนอ SCHOOL MAPPING ประชุม ผอ.สพท. ปลายเดือนกุมภาพันธ์ ให้มี สพท.ตัวอย่างนำเสนอที่ประชุม

สิ่งที่ขอให้ทำเร่งด่วน *ภายใน ๓ เดือน ให้ ผอ.สพท. ได้นำเสนอ SCHOOL MAPPING * ประชุม ผอ.สพท. ปลายเดือนกุมภาพันธ์ ให้มี สพท. ตัวอย่างนำเสนอที่ประชุม

เอกสาร แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา โครงการอบรมเทคนิคการวางแผน SCHOOL MAPPING เอกสาร แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา โดยใช้เทคนิค School Mapping

ส่วนที่ 1 กลยุทธ์การจัดของเขตพื้นที่การศึกษา SWOT ANALYSIS วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ มาตรการ กลยุทธ์

ส่วนที่ 2 สภาพทั่วไปของเขตพื้นที่การศึกษา สภาพภูมิศาสตร์ สภาพการคมนาคม สภาพประชากร ฯลฯ

ส่วนที่ 3 แผนที่แสดงที่ตั้งสถานศึกษา และเขตพื้นที่บริการ ส่วนที่ 3 แผนที่แสดงที่ตั้งสถานศึกษา และเขตพื้นที่บริการ GIS ของเขตพื้นที่การศึกษา แผนที่แสดงที่ตั้งของเขตพื้นที่บริการรายโรง (4 ประเภท)

ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาในอดีต จำนวนห้องเรียน นักเรียน เพศ อัตราการเข้าเรียน อัตราส่วนนักเรียนต่อประชากร อัตราการเลื่อนชั้น อัตราการซ้ำชั้น อัตราการออกกลางคัน อัตราการเรียนต่อ จำนวน วุฒิ ความขาด/เกิน ครูและบุคลากรทางการศึกษา อัตราส่วนนักเรียนต่อครู อัตราส่วนครูต่อห้องเรียน

ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาในอดีต (ต่อ) อาคารเรียนและอาคารประกอบ ครุภัณฑ์ ผลสัมฤทธิ์ทางการรายชั้น และรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ คุณภาพการให้บริการการศึกษา

ส่วนที่ 5 การคาดคะเนการจัดการศึกษาในอนาคต คาดคะเนประชาการ อายุ 1 – 7 ปี คาดคะเนอัตราการเข้าเรียนของชั้น อ.1 ป.1 ม.1 ม.4 คาดคะเนอัตราการเลื่อนชั้น อ.1/อ.2 ป.1/ป.2 - ป.6ม.1/ม.2 - ม.3 และ ม.4/ม.5 - ม.6 แผนชั้นเรียนเต็มรูปของโรงเรียน

ส่วนที่ 6 ข้อเสนอทางเลือกในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน โอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน คุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สรุป ข้อมูลระดับจังหวัด สพท. พื้นที่บริการ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับเขตพื้นที่การศึกษา (school Mapping)