สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
นโยบาย สพฐ. ปี
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษา
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มาตรการส่งเสริม โรงเรียนบ้านเขาแก้ววิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1.
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สถานศึกษา ที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
หลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จำรัส เพชรทับ
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย กรอบ การสรุปผลงาน ศกม. ศน.ม. สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย

คำถามเพื่อต้องการคำตอบ การเตรียมความพร้อมเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษารูปแบบใดที่ทำให้เกิดการประสานการบริหารการจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัด ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา และประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

ข้อกำหนด ศกม.มีหน้าที่ ประสานการดำเนินงานการจัดการมัธยมศึกษา จัดเตรียมความพร้อมในการจัดตั้งเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา และเชื่อมประสานความร่วมมือการจัดการศึกษากับ สพท. สถานศึกษา หน่วยงาน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ศน.ม.มีหน้าที่ ขับเคลื่อนนโยบาย ภารกิจ แผนงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมและประสานให้เกิดความร่วมมือในการแก้ปัญหา และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น และมีความเป็นเลิศสู่สากล

กรอบการนำเสนอ รูปแบบโครงสร้าง ศกม.ที่ประสานการดำเนินงานการจัดการมัธยมศึกษาที่ส่งผลการบรรลุเป้าหมายตามข้อตกลง 9 ข้อ กับ รมว.ศธ รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบาย ศน.ม.ที่ทำการนิเทศ และพัฒนาคุณภาพการศึกษามัธยมศึกษาส่งผลไปสู่การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น และมีความเป็นเลิศสู่สากล

ผลงานเชิงประจักษ์ต่อเป้าหมาย 9 ข้อ บอกจำนวนโรงเรียน หรือจำนวนครู จำนวนนักเรียน และคิดเป็นร้อยละใน สมป.จังหวัด และสรุปรวมเป็น ศกม. คัดเลือกชื่อผลงานที่ดีเด่น พร้อมบอกกระบวนการที่นำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมาย

เรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระหลัก ปริมาณโรงเรียนที่ยกระดับผลการเรียนเฉลี่ยในแต่ละกลุ่มสาระหลักของภาคเรียนที่ 1/2552 เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าระดับผลการเรียนเดิม ร้อยละ 3 (หลักสูตร 2544 ให้เทียบเป็นระดับผลการเรียน ,ให้แจกแจงที่ละกลุ่มสาระ)

เรื่องประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปริมาณโรงเรียนที่จัดทำแผนอิงระบบประกันคุณภาพรายมารฐาน และสามารถรายงานผลความก้าวหน้า หรือผลงาน เพื่อการปรับปรุง ผดุง และพัฒนาสู่ความยั่งยืนเป็นช่วงระยะเวลาสอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปี

เรื่องการจัดทำและใช้หลักสูตรสถานศึกษา ปริมาณโรงเรียนที่สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคการลงทุน/สถานประกอบการ สถาบันการศึกษา เพื่อพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา นำไปสู่การมีข้อตกลงการร่วมมือกันพัฒนาครู สื่อการเรียนรู้ และการระดมทรัพยากร รูปแบบการจัดโครงสร้างหลักสูตรไปสู่ความเป็นเลิศด้านความสามารถ และคุณลักษณะที่โดดเด่นเป็นที่ยอมรับระดับจังหวัด ภูมิภาค หรือประเทศ

เรื่องการพัฒนาครูให้สามารถจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ปริมาณครูที่เข้าสู่กระบวนการพัฒนาให้สามารถวิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียน ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เลือกใช้สื่อเทคโนโลยี นวัตกรรมมาเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ใช้เครื่องมือตรวจสอบองค์ความรู้และสอบวัดประเมินผลอิงพัฒนาการผู้เรียน สามารถนำผลมาปรับปรุงการเรียนรู้ และมีการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน

เรื่องการจัดระบบดูแลนักเรียน ปริมาณโรงเรียนที่จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สามารถดำเนินการได้ตามนโยบาย 3D โดยมีผลงานนำเสนอยกตัวอย่างได้โดดเด่น ปริมาณโรงเรียนที่สามารถลดจำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียน 0 ร. และ มส. เมื่อเทียบกับปีที่ผ่ามา

เรื่องการพัฒนามาตรฐานคุณภาพโรงเรียนให้เป็นที่ยอมรับของสังคม ปริมาณโรงเรียนที่ผู้ปกครองและนักเรียนนิยมสมัครเข้าเรียนมากกว่าแผนการรับนักเรียน ปริมาณโรงเรียนที่จัดกิจกรรมผู้เรียนโดยใช้เครือข่าย แหล่งเรียนรู้ในชุมชน หรือใช้ชุมชน ภูมิปัญญาในชุมชนมาจัด หรือร่วมจัดกิจกรรมผู้เรียนเป็นไปตามนโยบาย 3D และห้องสมุด 3ดี

เรื่องความพร้อมด้านอาคาร สถานที่ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยี ปริมาณโรงเรียนที่ได้รับงบลงทุน SP2 ไปปรับปรุงซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐานด้านอาคาร บริเวณ ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด ครุภัณฑ์ สามารถจัดเตรียมการประมาณราคา และนำไปวางแผนช่วยสร้างสถานการณ์การออกแบบการเรียนรู้ในแผนการเรียนรู้รายวิชา และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

เรื่องครูเพียงพอและการจัดประสิทธิภาพครู ปริมาณโรงเรียนที่ครูเป็นไปตามเกณฑ์นักเรียนต่อครู ไม่ขาด ไม่เกิน กว่าร้อยละ 3 ปริมาณโรงเรียนที่ครูครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

เรื่องคอมพิวเตอร์และระบบ ICT ปริมาณโรงเรียนที่ได้รับงบลงทุน SP2 เป็นค่าครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ต และสื่อครุภัณฑ์ ICT สามารถเตรียมความพร้อมนำไปใช้เป็นเครื่องมือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการออกแบบการเรียนรู้ในแผนการเรียนรู้รายวิชา และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

สถานศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใน 5 กลุ่มสาระ การเรียนรู้หลัก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี 2554 1 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 3 ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผลประเมินระดับชาติเพิ่มขึ้นเป็นอย่างน้อย และอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 3 ของระดับผลการเรียนเฉลี่ยรายภาคเรียนแต่ละกลุ่มสาระหลักเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าระดับผลการเรียนเดิม อย่างต่อเนื่อง มาตรการ ลดจำนวนนักเรียนที่ได้ผลการเรียนต่ำกว่าระดับ 2 และเพิ่มจำนวนนักเรียนที่ได้ระดับ 3 ขึ้นไปในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีค่าสหสัมพันธ์ระหว่างผลการเรียน GPA กับ ผลการประเมิน O-NET มีความสัมพันธ์กัน พัฒนาค่าเฉลี่ยคะแนน O-NET ของสถานศึกษากลุ่มต่ำกว่าค่ากลางของกลุ่มต่ำ

สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก และ มีผลการประเมินระดับดี/ดีมากไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 90 ของสถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในประจำปีอยู่ในระดับดีขึ้นไป มาตรการ เชื่อมโยงภารกิจสถานศึกษากับมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ตรวจสอบผลดำเนินงานกับเกณฑ์ความสำเร็จรายตัวบ่งชี้ ทำแผนพัฒนาจุดเด่น และปรับปรุงจุดอ่อน ปรับโครงสร้างการบริหารงาน และมอบหมายงานให้บุคลากร จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานตามโครงสร้างงาน และบุคคล ออกแบบกิจกรรมเป็นแผนปฏิบัติการประจำปี เน้นการรายงานผลดำเนินงานระหว่างและเสร็จโครงการ/งาน จัดทำรายงานของสถานศึกษา (SAR)

สถานศึกษาทุกแห่งจัดทำและใช้หลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน มีการใช้แหล่งเรียนรู้ และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือจากชุมชน สถาบันการศึกษา แหล่งวิทยาการ สถานประกอบการ และภูมิปัญญาในท้องถิ่น เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวัด 3 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 ของสถานศึกษา มีและใช้หลักสูตรอิงมาตรฐาน สอดแทรกสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นในกลุ่มสาระจังหวัดและจังหวัด ร้อยละ 50 ของสถานศึกษาสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายอื่นๆ ในการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ รองรับความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น มาตรการ ประเมินการใช้หลักสูตร เครือข่ายจัดทำหลักสูตร จัดทำโปรแกรมการเรียน แผนการเรียนรู้ที่มีสาระสำคัญของประเด็นกลุ่มจังหวัด ท้องถิ่น ตัวป้อนระดับอุดมศึกษา อาชีวศึกษา และรับตัวป้อนจากประถมศึกษา

สถานศึกษา ทุกแห่งมีการพัฒนาครู และมีผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 10 : ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับดี / ดีมาก 4 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ขึ้นไปที่สถานศึกษามีการพัฒนาครูตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 10 ร้อยละ 90 ของสถานศึกษามีผลประกันคุณภาพภายใน ตามมาตรฐานที่ 10 ในระดับ ดีขึ้นไป มาตรการ มีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายการจัดการศึกษา และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล ความสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับศักยภาพนักเรียน เลือกใช้สื่อ เทคโนโลยีการเรียนรู้ได้เหมาะสมและมีทักษะการใช้ ประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ที่จัด และอิงพัฒนาการผู้เรียน นำผลประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอน วิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน

สถานศึกษาจัดระบบดูแลนักเรียนที่เสริมสร้างพัฒนาการของผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ สอดคล้องกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ.2544 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2551 5 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 ของสถานศึกษา มีการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 95 ของนักเรียนประพฤติปฏิบัติตนตามระเบียบวินัยของสถานศึกษา ร้อยละ 25 ของนักเรียนมี ผลการเรียน 0 ร. และ มส. ลดลงจากปีการศึกษาที่ผ่านมาเป็นอย่างน้อย มาตรการ พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครู : นักเรียน ในอัตรา 1 : 20 ติดตามนิเทศให้ครบ 5 องค์ประกอบ ศึกษานักเรียนรายบุคคล คัดกรองนักเรียน แก้ไขปัญหานักเรียน พัฒนาคุณภาพ และศักยภาพนักเรียน ส่งต่อ ระบบการตรวจสอบและเก็บข้อมูลพฤติกรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์

สถานศึกษาได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสังคม 6 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 40 ของสถานศึกษา มีมาตรฐานคุณภาพการศึกษาและได้รับความนิยมที่เป็นที่ยอมรับเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 ที่เพิ่มขึ้นของสถานศึกษามีนักเรียนมาสมัครเข้าเรียนตามแผนการรับนักเรียนได้เต็มตามจำนวนแผนจัดชั้นเรียน มาตรการ มีหลักสูตรสถานศึกษาที่รองรับความนิยมของสังคม จัดเครือข่ายความร่วมมือจาดสถาบันอุดมศึกษา และนานาชาติ ใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ และสิ่งอำนวยความสะดวกเทียบเคียงระดับสากล วัดผลประเมินผลการเรียนรู้ที่มีมาตรฐาน จัดหลักสูตรที่หลากหลายตามความต้องการท้องถิ่น สร้างเครือข่ายความร่วมมือการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

สถานศึกษามีความพร้อมด้านอาคารสถานที่ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยี สอดคล้องกับแผนการจัดชั้นเรียน 7 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 เป็นอย่างน้อยของสถานศึกษามีอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องพิเศษ ห้องบริการ สิ่งก่อสร้างประกอบ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยีการเรียนการสอน มาตรการ จัดทำข้อมูลสารสนเทศด้านห้องเรียน ห้องพิเศษ ฯ เสนอขอรับงบประมาณตามความจำเป็นตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษามัธยมศึกษา การมีส่วนร่วมระดมทรัพยากรจากท้องถิ่น บริหารจัดการการใช้อาคารสถานที่ ครุภัณฑ์ฯ อย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัด

สถานศึกษามีครูเพียงพอ อัตราส่วนครู:นักเรียนเป็นไปตามเกณฑ์ มีครูครบทุกกลุ่มสาระและ เพียงพอตามแผนการจัดชั้นเรียน ซึ่งกำหนดให้มีนักเรียนต่อห้องเรียนไม่เกิน 40 คน 8 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ของสถานศึกษา มีการจัดชั้นเรียนโดยบรรจุนักเรียนต่อห้องไม่เกิน 40 คน ร้อยละ 20 ของสถานศึกษา มีครู ขาด/เกิน ในอัตราส่วนครูต่อนักเรียนตามเกณฑ์ ร้อยละ 95 ของสถานศึกษา มีครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีจำนวน และวุฒิประสบการณ์ตรงตามเกณฑ์ มาตรการ จัดนักเรียนต่อห้องไม่เกิน 40 คน เพื่อเสริมมาตรฐาน 10 ใช้กรรมการสถานศึกษาหาครูเพิ่มที่ตรงวุฒิ และพิเศษกว่าปกติ พัฒนาครูเดิมให้มีความรู้ ทักษะตามเกณฑ์ที่จะสอน

สถานศึกษามีอัตราส่วนนักเรียน :คอมพิวเตอร์ ต่ำกว่า 20:1 และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษาเป็นเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการเรียนรู้ 9 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 75 ของสถานศึกษา มีอัตราส่วน นักเรียน ต่อคอมพิวเตอร์ น้อยกว่า 20 : 1 ร้อยละ 70 ของสถานศึกษา มีครูที่ใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาเป็นเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการจัดการเรียนรู้ มาตรการ ระดมทรัพยากรตามเกณฑ์ที่กำหนด ทำแผนขอรับงบประมาณจัดซื้อคอมพิวเตอร์เพื่อจัดการเรียนการสอน ตั้งศูนย์สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา