ประวัติ นักคณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
หัวข้อรายงาน และอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐาจข้อมูล
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
ประสบการณ์การเขียนหนังสือ-ตำรา
ประวัตินักคณิตศาสตร์
โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ จัดทำโดย
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
งานนำเสนอวิชาคณิตศาสตร์ บทพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ จัดทำโดย ด.ญ.ณัฐวิภา อิสริโยดม ม.2/2 เลขที่ 24
สหกิจศึกษา กับการพัฒนาบัณฑิต สู่โลกไร้พรมแดน
การกำหนดขั้นตอนตำแหน่งทางวิชาการ
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
Wang991.wordpress.com Tregonmetry Click when ready 
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
Graph’s algorithm นำเสนอโดย นายปองสิทธิ์ โพธิคุณ ม.6/7 เลขที่ 17
Management Information Systems
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
นักคณิตศาสตร์ในอดีต.
สิ่งมหัศจรรย์ที่เกี่ยวข้องกับตัวเลข สัญลักษณ์ ทางคณิต
A.4 Rational Expressions
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
จอห์น เฮอร์เชล John Herschel
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
A.1 Real Numbers and Their Properties
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
แนะนำหนังสือวิชาการ ที่น่าอ่าน ***********
อาจารย์อาคม เผือกจันทึก
นำเสนอหนังสือวิชาการ
ป.บัณฑิต การบริหารการศึกษา รุ่นที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
คณิตศาสตร์ ในอารยธรรม กรอบความคิดทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ กับการใช้งาน
สมาชิก 1.น.ส.ศรวณีย์ อินทร์วงศ์ เลขที่ 11
ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มข.
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
ข้อมูลและสารสนเทศ.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
กระบวนการวิจัย Process of Research
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
องค์ประกอบของบทละคร.
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
เรขาคณิตสำหรับครูคณิตศาสตร์ The Geometry for Teacher
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชิ้นที่ 2 นางสาวจรรยา พุฒเจริญ คอมฯถูกใช้ในการออกแบบ สถานการณ์หรือปัญหาที่ ซับซ้อนต่างๆ.
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม เส้นทางออยเลอร์
10 นักวิทยาศาสตร์คนสำคัญ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
1 กระบวนทัศน์ใหม่เพื่อ ยุคไอที โดย รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์ อุดมศึกษาต่างประเทศ ( นางสาวพรทิพย์ กาญจนนิยต ) 7 สิงหาคม 2546 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อินเทอร์เน็ต ( Internet )
เศรษฐกิจพอเพียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติ นักคณิตศาสตร์

นางสาวปัณฐิตา สุจริตพิทักษ์กุล ม.4/5 เลขที่ 16 นางสาวปัณฐิตา สุจริตพิทักษ์กุล ม.4/5 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ชัยสิทธิ์ พงษ์พัฒน

เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler) ค.ศ. 1707 – 1783 ประวัติ เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler)  เป็นนักคณิตศาสตร์ และ นักฟิสิกส์ ชาวสวิส เขาได้ชื่อว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งเท่าที่เคยมี เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ เป็นคนแรกที่ใช้คำว่า ” ฟังก์ชัน ”  ในการบรรยายถึงความสัมพันธ์ ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร เช่น y = F( x ) เขายังได้ชื่อว่าเป็นคนแรกที่ประยุกต์แคลคูลัส เข้าไปยังวิชา ฟิสิกส์ ออยเลอร์เกิดและโตในเมือง บาเซิล เขาเป็นเด็กที่มีความเป็นอัจริยะทางคณิตศาสตร์ เขาเป็นศาสตราจารย์สอนวิชาคณิตศาสตร์ที่ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก และต่อมาก็สอนที่ เบอร์ลิน และได้ย้อนกลับไปยังเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กอีกครั้ง เขาเป็นนักคณิตศาสตร์ที่มีผลงานมากมายที่สุดคนหนึ่ง

เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler)

ผลงาน ผลงานทั้งหมดของเขารวบรวมได้ถึง 75 เล่ม ผลงานของเขามีอิทธิพลอย่างมากต่อผลงานทางคณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 18 เขาต้องสูญเสียการมองเห็น และตาบอดสนิทตลอด 17 ปีสุดท้ายในชีวิตของเขา ซึ่งในช่วงนี้เองที่เขาสามารถผลิตผลงานได้ถึงเกือบครึ่งหนึ่งของผลงานทั้ง หมดของเขา ดาวเคราะห์น้อย 2002ออยเลอร์ ได้ถูกตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา

ยุคลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย (Euclid of Alexandria)  ประมาณ 450 - 3800 ก่อนคริสต์ศักราช ประวัติ                      ยุคลิดเป็นชาวกรีก ศึกษาที่สถาบันของ Plato ที่กรุงเอเธนส์ ท่านได้รับการ แต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์และหัวหน้าภาควิชาคณิตศาสตร์คนแรกที่มหาวิทยาลัยอะเล็กซานเดรีย ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในโลกตั้งขึ้นประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช

ยุคลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย (Euclid of Alexandria)

 ผลงาน                  ผลงานชิ้นสำคัญของยุคลิดคือการเขียนตำราทางคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ ผลงานที่ยังคงอยู่ในปัจจุบัน 5 ชิ้น คือ Division of Figures ,   Data ,   Phaenomena , Optic และ Elements        Elements ประกอบด้วยหนังสือ 13 เล่ม และทฤษฎีบท 465 ทฤษฎีบท เป็นต้น  แบบของตำราคณิตศาสตร์ โดยใช้วิธีนิรนัย (Deduction) เนื้อหาส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับเรขาคณิต แบบยุคลิด แต่ก็มีเนื้อหาคณิตศาสตร์อื่น ๆ ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีจำนวน

ขอบคุณค่ะ