DRG and doctor.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้ป่วยนอกและผู้รับบริการอื่น ๆ เฉลี่ย / เดือน หน่วย : ครั้ง ( เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ )
Advertisements

ผลกระทบของ DRG ต่อศัลยแพทย์ไทย วิกฤต หรือ โอกาส
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
แนวทางการบันทึกข้อมูลเวชระเบียน การให้บริการสุขภาพช่องปาก
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
ค่ารักษาพยาบาล 1. เท่าที่จ่ายจริงและจำเป็น ไม่เกินวงเงิน 45,000 บาท
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การบันทึก เวชระเบียน.
DRG & AUDIT.
กายภาพบำบัด ในผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
การจัดกลุ่มโรคตามบัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
พยาบาลเปรมจิตร คล้ายเพ็ชร์ งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ฯ
Pattern of injury in child fatalities resulting from child abuse
กลุ่ม ๕.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค ธ.ค 2544 Complications.
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
ทบทวนการให้รหัสICD-10TM For PCU
บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
ระบบ DRGs กับ สวัสดิการข้าราชการ พ.ญ.ทัสนีย์ จันทร์น้อย
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
กฎหมายแรงงาน นพ. จรัส โชคสุวรรณกิจ
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
ภัทรา อเนกวิทยากิจ สำนักตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ (สตช.)
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
โรคเบาหวาน ภ.
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
การบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมJHCIS ให้ครบถ้วน ทุกแฟ้ม ตามรายงาน 18 แฟ้ม
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ เรื่อง หลักเกณฑ์และ อัตราสำหรับประโยชน์ทดแทนใน.
DRGs (Diagnosis Related Groups) การจัดกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม ผศ. นพ
สำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ(สกส)
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
Palliative Care e-Claim.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ลักษณะการประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยที่คณะกรรมการการแพทย์ จะ พิจารณาให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาล.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
โรคจากการประกอบอาชีพ
ICD 10 TM for PCU ศวลี โสภา เจ้าพนักงานเวชสถิติชำนาญงาน โรงพยาบาลสตูล.
การเบิกจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน ภายใต้เพดานงบประมาณ โดยใช้เกณฑ์กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม ( DRG ) ( เริ่ม 1 เม.ย. 45 )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

DRG and doctor

Diagnosis Related Group กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม DRG Diagnosis Related Group กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม

สาเหตุที่ต้องใช้ DRG เพราะการจ่ายเงินด้วยวิธี fee-for-service แพงเกินไป เพราะการจ่ายเงินด้วยวิธี capitation ทำให้บริการน้อยเกินไป 3

DRG การจัดกลุ่มโรคที่มีความรุนแรงและใช้ทรัพยากรใกล้เคียงกันเข้าเป็นกลุ่มเดียวกัน ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรเงิน การจ่ายเงินและการประเมินผลงานการจัดบริการของโรงพยาบาลและแพทย์ การสร้างมาตรฐานการคิดค่าบริการทางการแพทย์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน 4

การเฉลี่ยความเสี่ยง 5

องค์ประกอบของ DRGs ความหนักเบาของการเจ็บป่วย การทำนายผลการรักษา ความยากง่ายของการรักษา ความจำเป็นในการผ่าตัดรักษา ความต้องการใช้ทรัพยากรโรงพยาบาล 6

ข้อมูลระดับผู้ป่วยแต่ละราย วินิจฉัยโรค (ICD-10 diagnosis codes) การผ่าตัด (ICD-9-CM procedure codes) จำนวนวันนอนในโรงพยาบาล อายุ น้ำหนักแรกเกิด (neonates) การจำหน่ายผู้ป่วย 7

ข้อมูลในการจัดกลุ่ม Thai DRG โรคหลัก การวินิจฉัยอื่นๆ โรคแทรก (Complication) โรคร่วม (Comorbidities) การผ่าตัดและหัตถการ อายุ สถานภาพการจำหน่ายผู้ป่วย จำนวนวันนอน รพ. (Admit/Discharge/Leave day) น้ำหนักเด็กแรกเกิด (แรกรับ) ICD-10 ICD-9-CM (Procedure)

ข้อมูลในการจัดกลุ่ม Thai DRG รหัสการวินิจฉัยโรค (PDx & SDx) ใช้รหัส ICD-10 WHO (2007) และ ICD-10-TM (2007) ที่เพิ่มจาก WHO 1,053 รหัส โดยมีคำว่า “(TM)” ต่อท้าย Description PDx มีได้ 1 รหัสเท่านั้น SDx มีได้ 0 ถึง 12 รหัส รหัสการผ่าตัดและหัตถการ (Procedure, Proc) ใช้ รหัส ICD-9-CM (2007) แต่ละรายมีได้ 0 ถึง 20 รหัส แต่ละรหัสอาจมีส่วนขยาย (Extension) เพื่อระบุการทำหลายครั้งหรือตำแหน่ง แต่ต้องบันทึกให้ถูกต้องตามข้อกำหนดในหนังสือ

RW(relative weight) ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ = RW ค่าเฉลี่ยของการใช้ทรัพยากร ในการรักษาผู้ป่วย DRG นั้น เทียบกับต้นทุนเฉลี่ยของการรักษาผู้ป่วยทั้งหมด Mean charge per DRG Aggregate mean charge = RW

วิธีคำนวณน้ำหนักสัมพัทธ์ DRG 01010 Craniotomy for trauma, no CC Mean Charge for DRG 01010 Aggregate Mean Charge of all patient 14

ตัวอย่าง กลุ่มผู้ป่วยอายุ > 17 ปีที่ผ่าตัดสมองเนื่องจากบาดเจ็บ มีต้นทุนการรักษาเฉลี่ย 17,817 บาท ต้นทุนเฉลี่ยของการรักษาผู้ป่วยในทุกราย8,686 บาท RW = 17,817 8,686 2.0512 = 15

การกำหนดราคาต่อน้ำหนัก DRG ( Base rate) (Craniotomy for trauma, no CC) ราคา = อัตราต่อหน่วย x น้ำหนักสัมพัทธ์ ราคาของ DRG 01010 = (10,300) x (2.0512) = 21,127.36 บาท 16

Adjusted RW (AdjRW) ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับตามวันนอน (LOS) Medical กับ Surgical DRGs ใช้สูตรต่างกัน Low outliers มีสูตรไม่เท่ากันในแต่ละวัน High outliers มีสูตรต่างกันเป็นช่วงเวลาที่ยาวขึ้น

ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ ค่าวันนอน เฉลี่ย ค่าวันนอน นานเกินเกณฑ์

AdjRW ผู้ป่วยที่วันนอนจริงสูงกว่าเกณฑ์

การปรับค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ RW WTLOS/3 WTLOS OT AdjRW = AdjRW LOS 21

Case long LOS WTLOS 40.25 LOS2 LOS3 Pdx SDx1 SDx2 SDx3 Proc1 Proc2 N179(Acute renal failure SDx1 J156 SDx2 A415 SDx3 J960 Proc1 3395(hemodialysis) Proc2 9672(MV) Proc3 311(Tracheostomy) LOS 11 171 200 adjRW 13.51 18.38 DRG 00084 Tracheostomy c catastrophic CC

เวชระเบียนและผลต่อ DRG คุณภาพของการสรุป เวชระเบียนและผลต่อ DRG

เช่น dental caries,varicose Vein,acne,pterygium A.Principal diagnosis โรคหรือภาวะที่ทำให้นอนรพ.ถ้ามีหลายโรคต้องเลือกโรคที่มีการใช้ทรัพยากรมากที่สุด ถ้าวินิจฉัยไม่ได้ให้เลือกอาการหลักหรือกลุ่มอาการที่มา B.Co-morbidity เป็นโรคที่พบร่วมกับโรคหลักและมีความรุนแรงมากพอที่มีผลต่อค่าใช้จ่าย เช่น DM,IHD,CRF,SLE,HT, minor associated injury,MCA C.Complication โรคที่ไม่ปรากฏร่วมกับโรคหลักแต่แรก และเป็นโรคที่มีความรุนแรงของโรคมากพอที่จะทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อชีวิตสูงมากขึ้นหรือใช้ทรัพยากรในการรักษาเพิ่มขึ้นระหว่างการรักษาตัวในโรงพยาบาลครั้งนี้ Other เช่น dental caries,varicose Vein,acne,pterygium External Cause of Injuries and Poisoning

Main condition โรคที่ได้รับการวินิจฉัยแน่ชัดเมื่อสิ้นสุดการรักษาในครั้งนั้น และเป็นโรคที่เป็นเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยต้องมารับการรักษา ถ้ามีมากกว่า 1 โรค ให้เลือกโรคที่สิ้นเปลือง ทรัพยากรในการรักษามากที่สุด ถ้าไม่สามารถวินิจฉัยได้ชัดเจน อาจใช้อาการหรืออาการแสดงที่ผิดปกติมาใช้เป็นโรคหลักแทน

Main condition อาการบาดเจ็บที่อยู่ลึกที่สุด อวัยวะภายในที่อยู่ลึกสุดหรือล่างสุด เส้นเลือดสำคัญกว่า เส้นประสาทสำคัญกว่า กล้ามเนื้อ Acute สำคัญกว่า chronic

Principal diagnosis มีได้หนึ่งเดียวเท่านั้น เป็นเหตุสำคัญให้ต้องรับไว้  เกิดก่อนรับไว้ อาจเหมือน หรือไม่เหมือนการวินิจฉัยแรกรับ อย่าบันทึกอาการหรืออาการแสดง ถ้าทราบสาเหตุ ถ้ามีหลายโรค เลือกโรคที่รุนแรงที่สุด

บางรหัสห้ามใช้เป็น Principal diagnosis V, W, X, Y กลไกการบาดเจ็บหรือได้รับพิษ B90-B94 Sequelae of infectious and parasitic diseases B95-B97 Infectious agents D63.0* Anemia in neoplastic disease Z51.5 Palliative care

บางรหัสควรหลีกเลี่ยงที่จะใช้เป็น Principal diagnosis R00-R99 Symptoms, signs and abnormal clinical and laboratory findings, not elsewhere classified ถ้าทราบว่าอาการและอาการแสดงนั้นเกิดจากโรคใด ถ้ามีการวินิจฉัยโรคอยู่แล้ว ไม่ต้องลงอาการนั้น

Comorbidity การวินิจฉัยร่วม อาจมีได้หลายการวินิจฉัย เกิดก่อนรับไว้ แต่ไม่สำคัญเท่าการวินิจฉัยหลัก ทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยง ต้องรับการดูแลรักษา มักเป็นโรคเรื้อรัง

ตัวอย่างโรคร่วมที่พบบ่อยๆ - 1 Chronic diseases - Diabetes mellitus type II - Chronic renal failure - Rheumatoid arthritis - Hypertension - Ischemic heart disease - Systemic Lupus Erythrematosus

ตัวอย่างโรคร่วมที่พบบ่อยๆ - 2 Multiple injury - Abrasion wounds, laceration wounds - Contusions - Fracture phalanx of fingers or toes, fracture metacarpals, fracture metatarsals - Tear tendon, muscle, vessels of upper and lower extremities

Complication โรคแทรก อาจมีได้หลายโรค เกิดหลังจากรับไว้ในโรงพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยง ต้องรับการดูแลรักษา มักเป็นโรคเฉียบพลัน หรืออุบัติเหตุ

ตัวอย่างโรคแทรกที่พบบ่อยๆ - 1 Acute diseases - Surgical wound infection - Deep vein thrombosis - Acute myocardial infarction - Acute renal failure - Acute cystitis - Acute urinary retention - Acute hemorrhagic gastritis - Acute gastroenteritis

ตัวอย่างโรคแทรกที่พบบ่อยๆ - 2 Medical and surgical complications - Tear internal organ during surgery - Transfusion reaction - Drug allergy and anaphylaxis - Post-spinal block headache

Other diagnosis โรคอื่นๆ อาจมีได้หลายโรค เกิดก่อน หรือหลังจากรับไว้ในโรงพยาบาลก็ได้ ไม่ทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยง ไม่ต้องรับการดูแลรักษา มักเป็นโรคเล็กน้อย

ตัวอย่างโรคอื่นๆที่พบบ่อย Dental caries Dermatophytosis Alopecia areata Acne Varicose vein Pterygium

EXTERNAL CAUSES OF INJURY ระบุกลไก หรือสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยบาดเจ็บ ใช้ภาษาไทยก็ได้ เช่น Fall from tree หรือตกต้นไม้ , ขับรถยนต์ชนรถบรรทุกสิบล้อ, ซ้อนรถมอเตอร์ไซด์ชนท้ายรถปิกอัพ กรณีได้รับพิษ ให้ระบุด้วย ว่า เป็นอุบัติเหตุ หรือ จงใจทำร้ายตัวเอง เป็นข้อมูลที่ได้จากการซักประวัติผู้ป่วย หรือผู้พบเห็นเหตุการณ์

ในกรณีผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บหรือได้รับพิษ แพทย์ควรบันทึกอย่างชัดเจน . . . Injury ตำแหน่งและรายละเอียดทุกบาดแผล อุบัติเหตุ ถูกทำร้าย หรือทำร้ายตนเอง เหตุเกิดอย่างไร เหตุเกิดที่ไหน เหตุเกิดขณะผู้บาดเจ็บกำลังทำอะไรอยู่

ความถูกต้อง ของการบันทึกเวชระเบียน ถูกต้องตามคำจำกัดความของแบบฟอร์มต่างๆ Discharge summary Death certificate History & Physical Examination Progress note Operative notes

ปัญหาที่ทำให้ข้อมูลผิดพลาด

ปัญหาที่ทำให้ข้อมูลผิดพลาด 3. สรุปขาดสาระสำคัญ 4. โรคหลักไม่สัมพันธ์กับการผ่าตัด 5. รหัสโรคไม่สอดคล้องกับอายุ 6. รหัสโรคไม่สอดคล้องกับเพศ

ผลของการไม่สรุปหัตถการ Principle Dx Gastric ulcer with hemorrhage(K254) Secondary DX procedure Partial gastrectomy with gastrojejunostomy(43.7) DRG 06520 GI hemorrhage, age<65,no cc 06020 stomach, Esophageal &Duodenal proc, no cc RW 0.6183 2.2101

สรุปไม่ครบ Summary1 summary2 Secondary DX procedure Principle Dx CBD stone with cholecystitis(K805) Secondary DX procedure Cholecystectomy(51.22) CBD exploration for removal of stone(51.41) DRG 07050 Cholecystectomy,no cc 07040 Cholecystectomy with CDE,no cc RW 1.9463 2.3035

การบันทึกโรคหลัก - ตัวอย่างที่ผิด การบันทึกโรคหลัก - ตัวอย่างที่ผิด ผู้ป่วยประวัติเดิมเป็น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด ครั้งนี้ มีอาการปวดศีรษะมาแพทย์ตรวจพบ ความดันโลหิตสูงมาก BP 200/140 วินิจฉัย Malignant Hypertension รับไว้รักษาในโรงพยาบาล

การบันทึกโรคหลัก - ตัวอย่างที่ถูก การบันทึกโรคหลัก - ตัวอย่างที่ถูก ผู้ป่วยประวัติเดิมเป็น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด ครั้งนี้ มีอาการปวดศีรษะมาแพทย์ตรวจพบ ความดันโลหิตสูงมาก BP 200/140 วินิจฉัย Malignant Hypertension รับไว้รักษาในโรงพยาบาล

ANEMIA

สนย 2008 male<13,female<12 NHSO <13.5,<12 เพศชาย : Hemoglobin < 13.5 gm.% เพศหญิง : Hemoglobin < 12 gm.% สตรีมีครรภ์ : Hemoglobin < 11 gm.% เด็ก : Hemoglobin < 12 gm.% Standard coding guide ICD10-TM2005 M<12,F<11.5 สนย 2008 male<13,female<12 NHSO <13.5,<12

การให้รหัสภาวะเลือดจาง บันทึกการวินิจฉัยของแพทย์ ประวัติและการตรวจร่างกาย Lab Treatment coder & auditor

Iron Deficiency Anemia Hypochromic microcytic anemia MCV < 70 ± serum iron ต่ำ, total iron blinding capacity สูง, iron storage ใน bone marrow ต่ำ ถ้ามีประวัติการเสียเลือด D50.0 Iron deficiency anemia secondary to blood loss (chronic) ไม่มีประวัติเสียเลือดชัดเจน D50.9 Iron deficiency anemia, unspecified

Acute Posthaemorrhagic Anaemia มีประวัติการสูญเสียเลือดในเร็วๆนี้ เช่น ถ่ายดำ อาเจียนเป็นเลือด D62 Acute posthaemorrhagic anaemia

Non-OR procedure Affects ThaiDRGs Radiosurgery Extraction & restoration of tooth Continuous mechanical ventilation Cardiac diagnostic procedure Skin & subcutaneous tissue procedure Endoscope Alcohol and drug rehabilitation and detoxification Tracheostomy Obstetric procedure Minor procedures for newborns Others Electroshock therapy ESWL: kidney/ureter/bladder Thrombolytic & Platelet inhibitor injection/ infusion

การบันทึกโรคหลัก - บาดเจ็บหลายตำแหน่ง การบันทึกโรคหลัก - บาดเจ็บหลายตำแหน่ง ผู้ป่วยเดินข้ามถนนถูกรถยนต์ชน ไม่รู้สึกตัว แพทย์ตรวจพบ มีความดันต่ำ ไม่ค่อยรู้สึกตัว ทำผ่าตัดช่องท้อง พบมี Rupture spleen ทำผ่าตัด Splenectomy ตรวจ CT Scan Head พบมี Cerebral contusion left frontal รักษาโดยให้ยาลดสมองบวม ตรวจ X-rays pelvis พบมี Fracture pubic symphysis รักษาโดยการใส่ External fixator ผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาล 30 วัน จึงกลับบ้าน

การบันทึกโรคหลักผิด

การบันทึกโรคหลักถูก - บาดเจ็บหลายตำแหน่ง การบันทึกโรคหลักถูก - บาดเจ็บหลายตำแหน่ง

สิ่งที่แพทย์ควรทำ บันทึกการวินิจฉัยหลักสำหรับผู้ป่วยทุกราย แม้แต่ทารกแรกเกิด เขียนด้วยลายมือที่อ่านง่าย เขียนการวินิจฉัยหลักเพียงโรคเดียว เขียนการวินิจฉัยร่วม, โรคแทรก และโรคอื่นๆ ให้ครบทุกโรค เขียนรายละเอียดของแต่ละการวินิจฉัยให้ละเอียดที่สุด เขียนกลไกการบาดเจ็บหรือได้รับพิษอย่างละเอียดชัดเจน เขียนหัตถการที่ทำให้ครบ

สิ่งที่แพทย์ไม่ควรทำ เขียนด้วยลายมือที่อ่านยาก เขียนการวินิจฉัยหลักมากกว่า 1 โรค เขียนโรคแทรกเป็นการวินิจฉัยหลักหรือการวินิจฉัยร่วม เขียนอาการหรืออาการแสดงเป็นการวินิจฉัยหลัก ยกเว้นกรณีที่วินิจฉัยไม่ได้ว่าเป็นโรคอะไร เขียนคำวินิจฉัยกำกวม เขียนคำย่อที่ไม่เป็นสากล

SA 1 = Ambiguous principal diagnosis

SA 1 = Ambiguous principal diagnosis

SA 1 = Ambiguous principal diagnosis

SA 1 = Ambiguous principal diagnosis

คำกำกวม Head injury, Knee injury, Abdominal injury, Ankle injury, Chest injury, Multiple injury URI, UTI, CVA CPD, HIV +ve

รหัสคุณภาพแย่ Head injury S09.9 Scalp contusion S00.0 Scalp Laceration S01.0 Fracture skull S02.00 Subdural hematoma S06.5 Cerebral concussion S06.0 Cerebral contusion S06.3

อย่าวินิจฉัยว่า Alteration of conscious ถ้าทราบว่าเป็น subarachnoid hemorrhage Paraplegia ถ้าทราบว่าเป็น spinal cord transection Chest pain ถ้าทราบว่าเป็น acute myocardial infarction Acute abdomen ถ้าทราบว่าเป็น perforated peptic ulcer

Fracture Femur? S72.9? Fracture Shaft of Femur S72.3 Fracture Neck of Femur S72.0 Intertrochanteric Fx of Femur S72.1 Supracondylar Fracture of Femur S72.4

การใช้ยาหรือหัตถการรักษาที่มีมูลค่าสูง แต่ค่าRWไม่เหมาะสม

Febrile neutropenia case HN: 3047073 AN: 463029 ICD 10 C910 Acute lymphoblastic leukaemia D70 Agranulocytosis A419 Septicaemia, unspecified K922 Gastrointestinal haemorrhage, unspecified E876 Hypokalaemia N390 Urinary tract infection, site not specified Z870 Personal history of diseases of the respiratory system Z861 Personal history of infectious and parasitic diseases L028 Cutaneous abscess, furuncle and carbuncle of other sites Z511 Chemotherapy session for neoplasm I10 Essential (primary) hypertension ICD 9 CM 9633 GASTRIC LAVAGE 9925 INJECT CA CHEMOTHER NEC 9904 PACKED CELL TRANSFUSION 9902 TRANSFUS PREV AUTO BLOOD

ค่ารักษารวม 299,991 RW 6.9435 เบิกตามDRG 95,709 Base rate 13,784 บาท ขาดทุน 204,282 ค่ายา G-CSF 57,936 Antibiotic 58,348 Vfend 109,620

Case ITP sum1 sum2 Pdx D693(ITP) SDx1 D591(AIHA) SDx2 A430(nocardiosis) SDx3 Proc1 9914(IVIG) Proc2 9904(PRC Tx) Proc3 9396(oxygen) LOS 26 adjRW 2.2911 DRG 16512 Coag dis c mild to mod CC

Case ITP ค่ารักษารวม 531,179 เบิกDRG 48,519 ขาดทุน 482,659 สาเหตุ 1.IVIG 396,204 2.Meronem 83,334

Case hemodialysis sum1 sum2 sum3 Pdx N179(Acute renal failure SDx1 J156 SDx2 A415 SDx3 J960 Proc1 3395(hemodialysis) Proc2 9672(Mechanical Ventilation) Proc3 311(Tracheostomy) LOS 87 adjRW 11.8 33.59 DRG 11504 renal failure c catastrophic CC 00104 Tracheostomy c mv>96 hr catastrophic CC

Case hemodialysis ค่ารักษารวม 918,317 เบิกDRG 186,290 ขาดทุน 679,780 สาเหตุ HD x 30ครั้ง 105,000 Albumin 69,156 Eprex 63,570 Antibiotic 87,486

ระดับคุณภาพข้อมูลการวินิจฉัยโรคและการให้รหัสโรค ปัจจัยส่งผลต่อคุณภาพการวินิจฉัยโรค และรหัสโรค ความรู้ ความชำนาญ ความมั่นใจ ความละเอียดในงาน สภาพแวดล้อมในงาน Final Diagnosis Provisional Diagnosis กลุ่มอาการ, Syndrome อาการ และ อาการแสดง

ระดับคุณภาพข้อมูลการวินิจฉัยโรคและการให้รหัสโรค Perforated Chronic DU ปัจจัยส่งผลต่อคุณภาพการวินิจฉัยโรค และรหัสโรค ความรู้ ความชำนาญ ความมั่นใจ ความละเอียดในงาน สภาพแวดล้อมในงาน PU Perforate Peritonitis Abdominal Pain, Acute Abdomen

ระดับคุณภาพข้อมูล บันทึกการผ่าตัด Core procedures -Vagotomy, Pyloroplasty -Decortication of lung -Diskectomy L4,5 Drainage subdural hematoma ปัจจัยส่งผลต่อคุณภาพข้อมูล ความรู้ ความชำนาญ ความมั่นใจ ความละเอียดในงาน สภาพแวดล้อมในงาน คำใช้สำหรับ set ผ่าตัด Explore laparotomy Craniotomy Thoracotomy Laminectomy

สรุปการเรียกเก็บบัตรทอง ปีงบประมาณ2544-2550 ค่าใช้จ่ายจริง ค่าใช้จ่ายเรียกเก็บ ยอดชำระ ค้างชำระ อัตราคืนทุน 2544 3,614,577 - 100.0% 2545 266,756,072 248,001,369 18,754,703 93.0% 2546 426,981,023 377,702,450 331,137,788 46,564,662 77.6% 2547 664,310,570 422,618,437 381,267,389 41,351,048 57.4% 2548 764,766,805 506,015,911 491,808,931 14,206,980 64.3% 2549 811,297,981 608,804,009 593,443,147 15,360,861 73.1% 2550 1,047,639,778 770,479,767 767,957,196 2,522,570 73.3% 2551 1,111,715,048 917,062,171 797,465,113 3,697,516 71.7% 2552 1,197,316,512 966,131,786 784,247,040 15,607,694 65.5% 2553 1,264,705,997 966,933,619 699,609,863 112,453,168 55.3% รวมทั้งสิ้น 7,559,104,367 5,806,118,804 5,098,552,417 270,519,205

ตารางข้อมูลผลการดำเนินงานโครงการประกันสังคม ของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 2545-2553 ปีงบประมาณ รายรับทั้งหมด รายจ่ายจริง ส่วนต่าง 2545 59,176,990 56,641,157 2,535,832 2546 64,136,659 67,667,699 - 3,531,040 2547 59,734,811 77,822,632 -18,087,820 2548 76,170,953 78,538,806 - 2,367,853 2549 95,977,171 96,423,125 - 445,953 2550 97,784,466 112,068,046 -14,283,580 2551 98,334,474 131,677,348 -33,342,873 2552 144,201,878 141,303,952 2,897,926 2553 138,073,989 155,023,914 -16,949,924

ตัวอย่างการเบิกตามDRGของผู้ใช้สิทธิเบิกข้าราชการ ค่ารักษารวม ADJRW เบิกDRGได้ ผลต่าง(ขาดทุน) 3,310,651 42.64 587,650 -2,254,507 2,576,101 58.6783 808,821 -1,438,273 1,826,593 21.8161 300,713 -1,276,457 1,475,634 22.3636 308,259 -1,048,915 1,137,654 9.81 135,225 -928,711 983,158 4.1434 57,112 -874,616 1,107,009 6.9435 95,709 -867,463 1,118,938 6.94 -828,754 1,026,356 13.515 186,290 -775,557 1,065,615 18.9619 261,370 -737,979 1,005,930 -726,458 842,429 5.2462 72,313 -722,650 1,053,291 12.2441 168,772 -719,522

ค่ารักษาข้าราชการผู้ป่วยในตามระบบDRG ของรพ.มหาราชนครเชียงใหม่ รวมค่ารักษา ค่าห้อง/อาหาร อวัยวะเทียม ยาเคมีบำบัด ค่ารักษาเรียกเก็บตามDRG กรมบัญชีกลางจ่ายตามDRG ขาดทุนผลต่างตามระบบDRG 2551 582,126,644 203,493,426 378,633,218 343,350,543 35,282,674 2552 565,802,031 198,750,860 367,051,171 344,577,992 22,473,178 2553 583,183,543 202,424,132 380,759,410 354,437,358 26,322,052 ปี 2554 จะได้อัตราRW เพิ่มขึ้นจาก 11,000 เป็น 12,133 บาทต่อ1RW และยกเลิกระบบ case mixed index(CMI) cap (ถ้าสรุปโรคและหัตถการละเอียดครบถ้วนมีโอกาสได้DRGที่มีค่าRWสูงโดยไม่ต้องถูกกำหนดเพดาน แต่จะมีการใช้วิธีauditภายหลัง)

Thank you for your attention…..

E-Discharge Summary