การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้กระบวนการพัฒนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

แบบนำเสนอผลงานโครงการ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
กลุ่ม อาคาร 2 โครงการ ขอมาจัดไป
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
ปฏิทินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยฯ
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปัตตานี
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การประเมินแม่ วัตถุประสงค์ เพื่อประเมิน - ความตั้งใจของแม่
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
การเก็บนมไว้ในช่องแช่แข็งได้นาน 3 เดือน
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
สรุปผลงานความร่วมมือระหว่างห้องสมุด
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
70 th Anniversary of URU Goal : The University of Quality สู่ มหาวิทยาลัยคุณภาพได้มาตรฐานระดับชาติ สคน. การบรรยายพิเศษ “ นโยบายด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา.
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
การส่งต่อมารดาและทารกหลังคลอด ปีงบประมาณ 2547
สัญลักษณ์ การรณรงค์ มะเร็งเต้านม.
โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลมุกดาหาร จำกัด
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
สรุปผลการใช้งบประมาณ 1 Unit 1 Project HP ประจำปีงบประมาณ 2553
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
การลดอัตราการติดเชื้อผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
ผลการกระตุ้นระดับการไหลของนมแม่และลดภาวะคัดตึงเต้านม ในมารดาหลังคลอดด้วยชั้นในไออุ่น (Compress brassiere) นางสาวฮัสนีย์ ดอเล๊าะ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
งานสวัสดิการนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้กระบวนการพัฒนา โครงการพัฒนา การส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้กระบวนการพัฒนา อย่างสร้างสรรค์

หอผู้ป่วยสูติกรรม งานการพยาบาลผู้ป่วยสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา โครงการพัฒนาการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่โดยใช้กระบวนการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ หอผู้ป่วยสูติกรรม งานการพยาบาลผู้ป่วยสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รายชื่อคณะกรรมการ ประธาน นางวาสนา หาญป่า ประธาน นางวาสนา หาญป่า เลขานุการ นางชัชฎาภรณ์ นันทขว้าง ผู้ช่วยเลขานุการ นางสาวรัตติกาล อภิวงค์งาม คณะกรรมการ นางสาววาสนา วอนเพียร นางลัดดาวัลย์ สุขแสวง นางพิมพรรณ คงตาดำ นางสาววันเพ็ญ ตนซื่อ นางสุธรรมมา เกตุแก้ว ที่ปรึกษา นางจงรักษ์ ชลานันต์ นางสาวศิริพร ศรีสวัสดิ์ นางพิกุล ทรัพย์พันแสน นางศรีเวียง ชุ่มปัน

ความเป็นมาและความสำคัญของการจัดตั้งโครงการ(1) บริบทของหอผู้ป่วยสูติกรรม Exclusive breastfeeding คู่มือ โครงการและแนวทางการปฏิบัติในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ คณะกรรมการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โครงการพัฒนาการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้การพัฒนาอย่างสร้างสรรค์

ความเป็นมาและความสำคัญของการจัดตั้งโครงการ(2) กระบวนการกลุ่ม การระดมสมอง องค์กรเป็นองค์กรที่มีชีวิตมีความสุขทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ

การประชุมครั้งที่ 1 วันที่ 3 สิงหาคม 2549 วิธีการแก้ไขเพื่อให้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ประสบผลสำเร็จ โดยประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงาน ทั้งเวรเช้า เวรบ่าย เวรดึก ร่วมระดมสมองเรื่องปัญหาที่พบในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พบว่าเกิดจากปัจจัยด้านมารดา ทารก และบุคลากร

ปัจจัยด้านมารดา

ปัจจัยด้านทารก

ปัจจัยด้านบุคคลากร จำนวนบุคลากร ทัศนคติของบุคลากร

ประชุมครั้งที่ 2 วันที่ 10 สิงหาคม 2549 ประชุมครั้งที่ 2 วันที่ 10 สิงหาคม 2549 การวิเคราะห์หาสาเหตุที่บุคลากรและมารดายังไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เท่าที่ควร

วิธีการแก้ไขด้านบุคลากร การมอบหมายงาน การส่งต่อรายที่มีปัญหา ทบทวนความรู้แก่บุคลากร การประเมิน competency Empowerment

วิธีการแก้ไขด้านมารดา ให้ข้อมูลกับมารดาเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพิ่มทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วางแผนร่วมกับมารดา โครงการคลอดคุณภาพ

การประชุมครั้งที่ 3 วันที่ 6 กันยายน 2549 การประชุมครั้งที่ 3 วันที่ 6 กันยายน 2549 ระดมสมอง เรื่อง สาเหตุของมารดาที่ยังไม่ ตระหนักถึงความสำคัญในการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เท่าที่ควร ขณะอยู่ในโรงพยาบาล หลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล

การประชุมครั้งที่ 4 วันที่ 16 มีนาคม 2550 การประชุมครั้งที่ 4 วันที่ 16 มีนาคม 2550 จัดตั้งโครงการเสริมความมุ่งมั่น ของมารดาหลังคลอดเพื่อให้เลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ประสบผลสำเร็จถึง 6 เดือน โดยมีการติดตาม ระยะ 6 สัปดาห์ 4 เดือน และ 6 เดือน หลังคลอด

1. ระยะ 6 สัปดาห์หลังคลอด ผลการเก็บข้อมูล (1) ประเภท จำนวน ร้อยละ นมแม่อย่างเดียว 105 34.88 นมแม่และน้ำ 110 36.54 นมแม่และนมผสม 76 25.24 นมผสม 8 2.65 นมแม่นมผสมและอาหารเสริม 2 0.69

2. ระยะ 4 เดือนหลังคลอด ผลการเก็บข้อมูล (2) ประเภท จำนวน ร้อยละ นมแม่อย่างเดียว 32 21.05 นมแม่และน้ำ 49 32.23 นมแม่และนมผสม 34 22.36 นมผสม 24 15.78 นมแม่และน้ำและอาหารเสริม 7 4.60 นมแม่ นมผสมและอาหารเสริม 2 1.31 นมผสมและอาหารเสริม 4 2.63

3. ระยะ 6 เดือนหลังคลอด ผลการเก็บข้อมูล (3) ประเภท จำนวน ร้อยละ นมแม่อย่างเดียว 14 17.28 นมแม่และน้ำ 3 3.7 นมแม่และนมผสม 1 1.23 นมผสม นมแม่และน้ำและอาหารเสริม 37 45.67 นมแม่ นมผสมและอาหารเสริม 16 19.75 นมผสมและอาหารเสริม 9 11.14

การประชุมครั้งที่ 5 วันที่ 31 ตุลาคม 2550 การประชุมครั้งที่ 5 วันที่ 31 ตุลาคม 2550 สรุปผลการเก็บข้อมูล วิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไข มีการติดตามทางโทรศัพท์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ทบทวนวรรณกรรมเรื่อง self efficacy ต่อระยะเวลา การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ประโยชน์ของ โครงการพัฒนาการส่งเสริมการเลี้ยงลูก บทสรุป ประโยชน์ของ โครงการพัฒนาการส่งเสริมการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่โดยใช้การพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ บุคลากร ผู้ป่วย

Thank you for your attention