ผลกระทบของราคากลาง กรมบัญชีกลาง พญ.ทัสนีย์ จันทร์น้อย โรงพยาบาลศิริราช 31 มกราคม 2550
TOPICS หลักประกันสุขภาพของข้าราชการ การเปลี่ยนแปลงในระบบสวัสดิการข้าราชการ (CSMBS) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง CSMBS How the system survive ? Group Itemize เป็นคำตอบหรือไม่ ?
CSMBS สวัสดิการข้าราชการ สูงอายุมากขึ้น เทคโนโลยีใหม่ Abuse? ใช้ฟุ่มเฟือย?? รพ.รัฐ เป็น โรบินฮูด สวัสดิการดีที่สุด ??? ค่าใช้จ่ายต่อหัวประชากร สูงที่สุด ปี 2549 คชจ. ~ 4,000 บาทต่อคน ปี 2549 กบก. จัดทำราคากลางเป็นอัตราเบิกจ่ายเพื่อควบคุมราคา ปี 2549 สปสช.บริหาร CSMBS
Problems in CSMBS Financing ที่มา : กรมบัญชีกลาง (12 ก.ย.2549)
Problems in Health Care Financing Health expense เพิ่ม 11 เท่าใน 18 ปี ปี 2523 = 25,315 ล้านบาท (3.8% GDP) ปี 2541 = 283,576 ล้านบาท (6.2% GDP) ค่าใช้จ่ายต่อราย เพิ่มขึ้น 9 เท่า ปี 2523 = 545 บาท/ราย ปี 2541 = 4,663 บาท/ราย ที่มา : Health Insurance Systems in Thailand (p.16-17) ต้องปฏิรูประบบบริการสุขภาพ Health care reform
ระบบบริการสุขภาพของประเทศ สรุปปัญหา... เงินมีน้อย... ไม่พอ... ค่าใช้จ่ายสุขภาพเพิ่มขึ้น ๆ ๆ ผู้ซื้อบริการไม่มั่นใจว่า คชจ.ที่เพิ่มเกิดจากอะไร ค่าบริการของแต่ละหน่วยงาน สำหรับโรคเดียวกันไม่เท่ากัน
Changing Public/Private Ratio 2541 - health expense 283,400 million baht Public 98,520 m฿ Private 184,880 m฿ 2547 - health expense 217,008 million baht Public 133,677 m฿ Private 83,331 m฿
Health Care Reform ควบคุมค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ใช้ทรัพยากรสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพได้อย่างทั่วถึง/เท่าเทียม (สร้างหลักประกันสุขภาพ)
เปรียบเทียบ 3 กองทุน
Changing in CSMBS ปี 2521 : Start CSMBS ปี 2541 : เริ่ม Copay ค่าใช้จ่ายลดลง 21.7% ในปี 2542 ปี 2545 : เบิกจ่ายตรง IPD ปี 2547 : เบิกจ่ายตรง OPD (4 โรค โรคต่อเนื่อง) ปี 2549 : จัดทำอัตราเบิกจ่าย (ราคากลาง) รวมบริหาร 3 กองทุน โดย สปสช. ปี 2550 : เบิกจ่ายตรงทุกคน
กบก. ปี 2545-2549 1 เม.ย.45 เบิกจ่ายตรงผู้ป่วยใน ส่งข้อมูลให้ สกส. 2 ส.ค.48 กบก.ดำริกำหนดราคากลางเพื่อเบิก เชิญรพ.ประชุม ต่อรองการหักเงินเดือนที่ได้รับจาก งปม. 2 ธ.ค.48 ร่างอัตราราคากลาง ครั้งที่ 1 ต่อรองการเบิกค่าหัตถการโดยระบบ Group Itemize ธ.ค.48 – 6 ม.ค.49 กบก.ปรับปรุงร่างอัตราราคากลาง ม.ค. – พ.ค.49 UHosNet ดำเนินการ ทบทวนอัตราที่มีผลกระทบมากในแต่ละหมวด เพื่อเสนอ กบก. ร่วมกันพัฒนาระบบ Group Itemize เพื่อใช้ส่งเบิกค่าหัตถการ
กบก.ทำอะไรต่อ... 31 มี.ค.49 แจ้งหลักเกณฑ์เบิกจ่ายตรงค่าล้างไต 9 พ.ค.49 เริ่มโครงการผู้ป่วยล้างไตในรพ.เอกชน 21 มิ.ย.49 ประกาศใช้ราคากลาง 1 ส.ค.49 26 ก.ค.49 แจ้งเลื่อนใช้ราคากลางเป็น 1 ต.ค.49 31 ส.ค.49 การใช้ยามะเร็งราคาสูง 6 รายการ 27 ก.ย.49 แจ้งเลื่อนใช้ราคากลางเป็น 1 ธ.ค.49 1 ต.ค.49 ขยายโครงการเบิกจ่ายตรง OPD โดยเคร่งครัดเรื่องสิทธิซ้ำซ้อน ต้องเบิกสิทธิอื่นก่อน
กบก.ทำอะไรต่อ... 9 – 15 พ.ย.49 ส่งอัตราราคากลาง final ให้ รพ. 16 พ.ย.49 ประกาศให้เบิกค่ายาตามแนวทางการใช้ยาในบัญชียาหลัก และใช้ DRG เมษายน 2550 24 พ.ย.49 ประกาศใช้อัตราราคากลาง 1 ธ.ค.49 12 ธ.ค.49 แจ้งหลักเกณฑ์การเบิกค่าห้อง ICU 25 ธ.ค.49 แจ้งเพิ่ม รพ.เอกชน ที่เข้าร่วมเบิกจ่ายตรงค่าบริการล้างไต 9 ม.ค.50 แจ้งแก้ไขอัตราราคากลางบางรายการ
วิเคราะห์ กบก. คู่แข่ง กบก.เป็น Purchaser ที่ค่อนข้างมีเหตุผล ต้องการให้ผู้มีสิทธิสวัสดิการข้าราชการได้รับบริการที่สะดวก (เบิกจ่ายตรง, รพ.เอกชน) ต้องการคุณภาพบริการ กำลังควบคุมค่าใช้จ่าย ...DRG/Capitation.. ต้องต่อรองด้วย evidence ใช้ระบบ Group Itemize ชี้แจงทรัพยากรที่ใช้รักษา คู่แข่ง
แนวคิดของกรมบัญชีกลาง ควบคุมค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ IPD – DRG with global budget (ประกาศ 16 พ.ย.2549) OPD – Capitation เก็บข้อมูลเพื่อใช้ประเมินอัตราเบิกจ่ายที่เหมาะสม ราคากลางเพื่อใช้เบิก และ Base rate - DRG ประกาศใช้ราคากลาง 1 ธ.ค.2549
ราคากลาง/อัตราเบิก ไม่ใช่ราคาขาย (Hospital charge) ที่ รพ. กำหนดและมีประกาศไว้ เป็นอัตราที่ กบก.เสนอเป็นราคาซื้อบริการ (ให้ รพ.เบิกจ่าย) โดยเป็นเพดานราคา กรมบัญชีกลางกำหนดราคาขายของโรงพยาบาลไม่ได้ รพ. อาจมีราคาขายต่ำกว่าหรือสูงกว่าราคากลาง กรมบัญชีกลางเกรงว่า รพ.จะปรับ Hospital charge จนเท่ากับราคากลาง ถ้าราคากลางสูงกว่า
ราคาที่ยุติธรรมคือ... ต้องตกลงราคากันก่อน ผู้รับบริการ ได้รับบริการคุณภาพ ผู้ให้บริการ ไม่ขาดทุน ผู้ซื้อ ซื้อในราคาที่ไม่แพงเกินไปและไม่จ่ายเกินความจำเป็น ผู้ซื้อ ซื้อในราคาที่มีเงินพอจ่าย ? (ซื้อเท่าที่มีเงิน หรือ ซื้อมาก ๆ และจ่ายเงินเท่าที่มี) ต้องตกลงราคากันก่อน ต้องจ่ายตามราคาที่ตกลงไว้
ยุติธรรมแน่หรือ ?? ผู้ซื้อ ต้องการทราบว่าได้รับบริการอะไรบ้าง และเหมาะสมหรือไม่ ผู้ซื้อ ต้องการให้คิดราคาจากต้นทุนที่เป็นธรรม ผู้ซื้อไม่ต้องการให้คิดราคาซ้ำซ้อน ผู้รับบริการ สนใจแต่คุณภาพ หากไม่ต้องจ่ายเงินเอง คิดเงินครบ ไม่ซ้ำซ้อน แต่รักษาเกินความจำเป็น ??
วิธีคิดราคากลางของ กบก. Total cost = Direct cost + Indirect cost Direct cost = 50% LC + CC + MC Indirect cost = 20% Direct cost Price = Total cost + 25%Total cost คิด LC 50% เฉพาะที่จ่ายจากงบเงินรายได้ กำไร = Future development = 20%-25%
คำถามในการคิดต้นทุน ค่าแรง ระดับ ศาสตราจารย์ หรือ Resident ระยะเวลาปฏิบัติงานที่ใช้คิดค่าแรงต่อหน่วย จำนวนทรัพยากรสุขภาพที่เหมาะสม จะใช้ต้นทุน new item หรือ reused item เวลาที่ใช้ห้องผ่าตัด จะคิดจากเวลาใด ถึงเวลาใด
ตย.การคิดต้นทุนโดย กบก. ต้นทุนมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ค่าแรงปรับทุกปี ราคาวัสดุปรับเพิ่มทุกปี
ผลกระทบที่เกิดขึ้น โรงพยาบาล ผลกระทบต่อระบบปฏิบัติการ ผลกระทบด้านการเงิน ผลกระทบต่อการพัฒนาทางการแพทย์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ผู้ป่วย - ส่วนเกินสิทธิเพิ่มขึ้น
..ทุกคนใช้วงเงินสวัสดิการเดียวกัน... มองต่างมุม..... กรมบัญชีกลาง ผู้ซื้อบริการ – ผู้รับบริการ โรงพยาบาล ผู้ให้บริการ – ผู้รับบริการ ข้าราชการ ผู้รับบริการ ..ทุกคนใช้วงเงินสวัสดิการเดียวกัน...
มุมเดียวกัน..... ผู้รับบริการ - ข้าราชการ ต้องการบริการคุณภาพ ไม่ต้องการจ่ายส่วนเกินสิทธิ ...เป็นข้าราชการ เงินเดือนน้อย หวังว่าจะได้รับสวัสดิการที่ดี ผู้รับบริการ ต้องการหายป่วยโดยเร็ว
รพ.อาจปรับค่าบริการขึ้นจนเท่าราคากลาง คนละมุม..... กรมบัญชีกลาง ต้องควบคุมค่าใช้จ่าย ไม่ต้องการให้เกิดการรอนสิทธิ โรงพยาบาล ต้องการให้บริการที่ดี แต่... ไม่ต้องการ..เจ๊ง หรือล้มละลาย ..หากกำหนดราคากลางสูง รพ.อาจปรับค่าบริการขึ้นจนเท่าราคากลาง หาก รพ.บริการไม่ดี มีสิทธิถูกฟ้อง หรือถูกร้องเรียน
ผลกระทบระบบปฏิบัติการ ระบบงาน - ระบบบริการสำหรับข้าราชการ - เพิ่มขั้นตอนการตรวจสอบสิทธิ - ปรับระบบฐานข้อมูล ระบบ IT - ปรับระบบการเงิน การคลัง - ระบบแจ้งหนี้ผู้ป่วยนอก - การลงรหัสโรคและรหัสหัตถการ - ความเข้าใจของผู้ปฏิบัติงาน ควบคุมการใช้ทรัพยากรสุขภาพ ควบคุมการใช้ยาและเวชภัณฑ์ ให้มีการ investigation ที่เหมาะสม ควบคุมระยะเวลาการอยู่โรงพยาบาลให้เหมาะสม การกำหนดราคาหัตถการและ ค่ารักษาพยาบาล
ผลกระทบด้านการเงิน รพ.เบิกค่ารักษาพยาบาลได้น้อยลง ผู้ป่วยจ่ายส่วนเกินสิทธิเพิ่มขึ้น ยอดลดหย่อนเพิ่มขึ้น ภาระงานเพิ่มขึ้น ผลกระทบต่างกันในแต่ละหมวด (อ.สรวุฒิ)
ผลกระทบต่อผู้ป่วย-ส่วนเกินสิทธิ ส่วนเกินสิทธิ (เดิม) ค่าห้องพิเศษ ค่ายานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ (ยกเว้นกรณีที่คณะกรรมการแพทย์รับรอง) ค่าอวัยวะเทียมฯ ที่เกินเพดาน หรือไม่มีในรายการ ค่าเวชภัณฑ์ หมวด 5 ที่ใช้นอกโรงพยาบาล ค่าบริการทันตกรรม (บางรายการ) รายการบริการใหม่ ๆ ส่วนเกินสิทธิ (ใหม่) เพิ่มส่วนเกินสิทธิหมวด 8, 11 (นอกห้องผ่าตัด), 15
DRG กับสถานการณ์การเงิน รพ. DRG = Diagnosis related group Charge = ค่าบริการตามอัตราของ รพ. RW = Relative weight (ประเมินความรุนแรงของโรค) AdjRW = Adjusted relative weight (ปรับ RW ตามจำนวนวันนอน) Base rate = อัตราชดเชยต่อ 1 AdjRW
ประเมินสถานการณ์การเงิน วิเคราะห์จำแนกตามกลุ่ม RW RW <= 0.5 ….unnecessary admit? RW > 0.5 - <= 1.5 …รักษาเองได้ที่ 2? RW > 1.5 - < 4.0 …ต้อง refer? RW >= 4.0 - <5.0 …High cost RW >= 5.0 - <6.0 …very high cost? RW >= 6.0 …very very high cost?
ประเมินสถานการณ์การเงิน หากใช้ DRG ชดเชย IPD ข้าราชการ Base rate ที่เหมาะสมของ มช. 10,300 บาท ชดเชย 44% ของ charge 15,000 บาท ชดเชย 65% ของ charge 16,000 บาท ชดเชย 69% ของ charge 20,000 บาท ชดเชย 86% ของ charge ควรเป็นอัตราใด ?
How the system survive? ผู้รับบริการพอใจ – ข้าราชการไม่ต้องจ่ายส่วนเกินสิทธิ นอกจากที่เกินความจำเป็นทางการแพทย์ รพ.ได้รับชดเชย ไม่ให้ขาดทุน – รพ.ต้องปรับตัว กบก. ชี้แจงวงเงินที่เหมาะสมได้ และควบคุมค่าใช้จ่ายได้
Provider ทำอะไรได้บ้าง ? How the system survive? ทบทวนต้นทุนการบริการตามหลักเกณฑ์ที่ตกลงกัน (มาตรฐาน V.S. อัตราค่าบริการ) ระบบ Group Itemize เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของค่าบริการ Copayment แต่กระทบตัวเรา !! รวมพลังชี้แจงวงเงินที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพข้าราชการ ในการของบประมาณ Provider ทำอะไรได้บ้าง ?
ระบบ Group Itemize ระบบบันทึกค่าหัตถการตามทรัพยากรสุขภาพที่ใช้จริง โดยจำแนกกลุ่มทรัพยากรสุขภาพเป็น 5 กลุ่ม เพื่อความสะดวกในการบันทึก และสามารถใช้บริหารต้นทุนบริการ กบก.ยอมรับในหลักการให้ใช้ระบบ Group Itemize ในการส่งเบิกค่าหัตถการ โดยขอให้รพ.ในกลุ่ม UHosNet ใช้เป็นรูปแบบเดียวกัน
ระบบส่งเบิก Group Itemize
ที่มา ราคากลางที่กรมบัญชีกลางประกาศจะใช้เป็นอัตราเบิกจ่ายในปี 2549 ผลกระทบต่อ รพ.กลุ่ม UHosNetโดยเฉพาะหมวด 11 ค่าหัตถการ การต่อรองขอเบิกค่าหัตถการตามจำนวนทรัพยากรสุขภาพที่ใช้จริง Group Itemize
Group Itemize GRIT แปลว่า ความบึกบึน Group = กลุ่ม ความร่วมมือ Group = กลุ่ม Itemize = การแจกแจงตาม รายการที่ใช้ Group Itemize (GrIt) หมายถึงการแจกแจงทรัพยากรสุขภาพตามกลุ่มรายการที่ใช้
วัตถุประสงค์ระบบ GrIt เพื่อกำหนดมาตรฐานกลุ่มทรัพยากรสุขภาพที่ใช้ในโรงพยาบาล และมาตรฐานการคิดต้นทุน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารต้นทุนการบริการสุขภาพ เพื่อใช้ในการชี้แจงต้นสังกัด / กลุ่มผู้ซื้อบริการสุขภาพ
เป้าหมาย ระบบส่งเบิก Group itemize ที่ รพ.UHosNet เห็นชอบ อัตราค่าบริการตามกลุ่มทรัพยากรสุขภาพสอดคล้องกับต้นทุนบริการ กลุ่มผู้ซื้อบริการสุขภาพยอมรับการเบิกระบบ Group Itemize
กลุ่มทรัพยากรสุขภาพ ค่าใช้ห้องผ่าตัด พร้อมเครื่องมือมาตรฐาน คิดตามจำนวนชั่วโมงที่ใช้ ค่าอุปกรณ์พิเศษ ที่ใช้เฉพาะบางราย คิดตามรายการที่ใช้ / จำนวนชั่วโมงที่ใช้ ค่า Set ผ่าตัด คิดตามจำนวนที่ใช้ ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาคิดตามจำนวนที่ใช้ เบิกไม่เกินเพดานราคา (ตามหนังสือ ว. 77) ค่าแรงบุคลากร คิดตามประเภท จำนวนบุคลากร/จำนวนชั่วโมงที่ปฏิบัติงาน
โครงสร้าง Group Itemize CC เครื่องมือ พิเศษ CC OR LC หัตถการ/ ICD-9-CM บุคลากร Instrument MC MC Set
แนวทางการจัดทำระบบ GrIt กำหนดรายการทรัพยากรสุขภาพในกลุ่ม / กลุ่มย่อย จัดกลุ่มของกลุ่มย่อยตามระดับราคา บุคลากร แบ่งระดับเฉพาะแพทย์ บุคลากรอื่น คิดค่าเฉลี่ย เชื่อมโยงทรัพยากรสุขภาพกับหัตถการ ศึกษาต้นทุนบริการหัตถการ กำหนดค่าบริการที่ผู้เกี่ยวข้องยอมรับได้
การศึกษาต้นทุน GrIt ตกลงหลักเกณฑ์การคิดต้นทุน เช่น การคิดค่าเสื่อม ค่าแรง ฯลฯ กำหนดรายการทรัพยากรสุขภาพมาตรฐาน และการจัดกลุ่ม (Standard items ของสมาคมรพ.เอกชน) เช่น อุปกรณ์ใน set, อวัยวะเทียม ฯลฯ ร่วมกันพิจารณาต้นทุน (ราคาซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ของแต่ละโรงพยาบาล)
การคิดต้นทุนการบริการ Capital cost : ค่าเสื่อมราคาของอาคารและครุภัณฑ์การแพทย์, ค่าบำรุงรักษา Material cost : ค่าวัสดุและอุปกรณ์การแพทย์ เช่น set ผ่าตัด, อวัยวะเทียม Labour cost : ค่าแรงบุคลากร Overhead cost : ต้นทุนทางอ้อมของการทำหัตถการ (ต้นทุนอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการทำหัตถการโดยตรง แต่ต้องใช้บริหารการบริการ) Indirect cost : ต้นทุนทางอ้อมของโรงพยาบาล Direct cost
ต้นทุนระบบ Group Itemize ค่า OR / Cath Lab. / ห้อง Scope ฯลฯ = Capital cost + Overhead cost ที่เกี่ยวข้องกับการทำหัตถการ ค่าเครื่องมือพิเศษ = Capital cost + Material cost ที่ต้องใช้ ค่า set = Material cost (new), reused? ค่า Instrument = Material cost (new), reused? ค่าแรงบุคลากร = Labour cost Indirect cost : ต้นทุนทางอ้อมของโรงพยาบาล
ต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) Standard cost (ต้นทุนมาตรฐาน) ต้นทุนที่คำนวณตามทรัพยากรที่ต้องใช้ สำหรับงาน 1 หน่วยเช่น วัสดุ เวลา ฯลฯ Plan cost ต้นทุนต่อหน่วยที่ประมาณการไว้ Actual cost (ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง)ต้นทุนต่อหน่วยที่คำนวณจากจำนวนครั้งที่ให้บริการ Variance ผลต่างระหว่าง Plan unit cost กับ Actual unit cost จำนวนครั้งบริการน้อย ต้นทุนต่อหน่วยสูง
ตัวอย่างคำนวณ Unit Cost (1) CT scan ราคา 36 ล้านบาท อายุใช้งาน 5 ปี ใช้งานได้ทุกวัน ๆ ละ 8 ชั่วโมง ตรวจ 1 ครั้งใช้เวลา 1 ชั่วโมง ค่าแรง 1 ชม. 1,000 บาทและค่าวัสดุ/น้ำยา 2,000 บาท/ครั้ง วางแผนว่า จะเปิดบริการ 6 วัน/สัปดาห์ และ ปีแรกมีผู้มารับบริการ 6 ราย/วัน เมื่อสิ้นปีแรกพบว่ามีผู้มารับบริการ 4 ราย/วัน
ตัวอย่างคำนวณ Unit Cost (2) Standard unit cost (บาท/ครั้ง) = (36 ล้าน/5/365/8) + 3,000 = 5,466 Plan unit cost (บาท/ครั้ง) = (36 ล้าน/5/312/6) + 3,000 = 6,846 Actual unit cost (บาท/ครั้ง) = (36 ล้าน/5/312/4) + 3,000 = 8,769 Variance (Plan cost V.S. Actual cost) = [(actual/plan) – 1] X 100 = 28.1%
การคิดอัตราค่าบริการ การคิดค่าบริการ (แนวคิดของกรมบัญชีกลาง) Price = Total cost + Future dev. cost Total cost = Direct cost + Indirect cost Direct cost = (Capital cost + Overhead cost) + Material cost + Labour cost Indirect cost = 20% ของ Direct cost Future dev. cost = 20%-25% Total cost
ปัญหา/อุปสรรค/โอกาสพัฒนา การเรียกชื่อวัสดุการแพทย์ และ อุปกรณ์ที่ใช้ในห้องผ่าตัด รายการอุปกรณ์ใน set การพิจารณาข้อมูลที่มาจากแหล่งที่แตกต่างกัน วิธีการทำงานร่วมกัน
ทางเลือกอื่น? ขอบคุณค่ะ