K - FoRUM คนประกวดฝ่ายส่งน้ำฯ
นายอุทัย เตียนพลกรัง ผบร.ชป.๘ (คุณเอื้อ) กลุ่มคน ที่รวมตัวกัน นายอุทัย เตียนพลกรัง ผบร.ชป.๘ (คุณเอื้อ) นายเนรมิต เทพนอก ฝจน.ชป.๘ (คุณอำนวย) นายวันเรืองเดช เนาว์ประเสริฐ ฝปท.ชป.๘ (คุณลิขิต) หัวหน้าฝ่ายฯ สังกัด ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา (คุณกิจ) ฝจน.คป. ฝสบ.คป. ๔ โครงการ (คุณกิจ) ฝจน.คบ. ฝสบ.คบ. ๙ โครงการ (คุณกิจ)
ปัญหา ทำไม? หัวหน้าฝ่ายส่งน้ำฯ จึง ไม่ผ่าน การคัดเลือก ทั้งในระดับโครงการ ระดับสำนักฯ ระดับภาค จนถึงระดับประเทศ
แนวทางการดำเนินการหาสาเหตุ DSI รูปแบบการประเมินที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มีความเหมาะสมอย่างไร การนำเสนอผลงาน มีความน่าสนใจและสนับสนุนความน่าเชื่อถือเพียงไร แรงจูงใจ ทำแล้วได้อะไร
ประโยชน์ที่ได้รับ 1. การระดมสมอง แนวคิด และรวบรวมปัญหา 2. มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ 3. สร้างนวัตกรรมใหม่ๆในองค์กร 4. เกิดความร่วมมือและการประสานงาน เสริมสร้างวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. ขับเคลื่อนให้องค์กรบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์
สรุปผลที่ได้จากการพูดคุย ระดับโครงการฯจะใช้วิธีหมุนเวียนส่งผลงาน ระดับสำนักฯใช้วิธีคัดเลือกผลงาน ใช้วิธีหมุนเวียนแบบแจ้งล่วงหน้า เพื่อเตรียมการ ถูกบังคับให้ส่งผลงาน ขาดการเตรียมการ บางครั้งไม่มีคนส่งผลงาน ต้องจับสลาก คนที่พร้อมส่งผลงาน แต่ยังไม่ถึงรอบ สำรวจความพร้อม จัดอันดับ ทำข้อตกลง ขาดความมั่นใจ ไม่มีความมุ่งมั่น ประหม่า เอกสารและการนำเสนอ ไม่น่าสนใจ รู้ไม่จริง ไม่ได้ปฏิบัติจริง ขาดการลงพื้นที่ สนับสนุนส่วนที่ขาด พัฒนาส่วนที่บกพร่อง ไม่ชัดเจนว่าทำแล้วได้อะไร คนที่ไม่ส่งผลงาน ได้เลื่อนตำแหน่งก่อน ทำแล้วไม่ผ่าน ท้อแท้ ขอรางวัลปลอบใจ ทำข้อตกลงแรงจูงใจที่ชัดเจน ตรงความต้องการ
เป้าหมายต่อไป ระดับภาค ส่งผลงานเข้าประกวด ได้รับรางวัลชนะเลิศทุกปี จัดทำคู่มือ“การประเมินฝ่ายส่งน้ำฯ” WORK MANUAL ระดับประเทศ ระดับภาค ส่งผลงานเข้าประกวด ได้รับรางวัลชนะเลิศทุกปี ระดับสำนักชลประทาน โครงการฯมีประสิทธิภาพ ด้านการบริหารจัดการน้ำ ระดับโครงการฯ
COP คนประกวดฝ่ายส่งน้ำฯ K - FoRUM TO COP คนประกวดฝ่ายส่งน้ำฯ