การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
กิจกรรมในการวิเคราะห์
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ใส่เลขที่ของแยย
นับจำนวนคำตอบในแต่ละข้อของแบบสอบถาม เพศ ชาย หญิง
จับกลุ่มคำตอบ
เช่น ข้อมูลอายุ 18 19 19 20 20 21 22 23 24 27 27 28 28 29 29 29 29 29 31 33 33 34 35 40 41 46 47 47 49 50 52 53 59 59 60 75 89
18 - 24 ปี 5 คน 25 - 39 ปี 8 คน 40 - 59 ปี 12 คน 60 ปีขึ้นไป 4 คน
บันทึกข้อมูลลงตาราง ประเภทอาชีพ จำนวน ร้อยละ เกษตรกร 400 40.0 ค้าขาย 200 20.0 รับราชการ 100 10.0 รับจ้างทั่วไป ลูกจ้างบริษัท รวม 1,000 100.0
ตัวอย่าง สำรวจความคิดเห็นของประชาชนชาวสุพรรณบุรีต่อการทำงานของผู้ว่าราชการจังหวัด (กลุ่มตัวอย่าง 1,000 คน)
คำถาม ท่านประกอบอาชีพอะไร? 1 เกษตรกร 2 ค้าขาย 3 รับราชการ 2 ค้าขาย 3 รับราชการ 4 รับจ้างทั่วไป 5 ลูกจ้างบริษัท
การบันทึกข้อมูลลงในตาราง ตารางที่ 1 อาชีพของกลุ่มตัวอย่าง (ชื่อตาราง) ประเภทอาชีพ จำนวน เกษตรกร 400 ค้าขาย 200 รับราชการ 100 รับจ้างทั่วไป ลูกจ้างบริษัท รวม 1,000
คำถาม ท่านพอใจต่อการทำงานของผู้ว่าฯ เพียงใด? 1 ไม่พอใจเลย 2 ไม่ค่อยพอใจ 3 ค่อนข้างพอใจ 4 พอใจอย่างยิ่ง
การบันทึกข้อมูลลงในตาราง ตารางที่ 2 ความพึงพอใจต่อการทำงานของผู้ว่าราชการจังหวัด ความคิดเห็น จำนวน ไม่พอใจเลย 30 ไม่ค่อยพอใจ 270 ค่อนข้างพอใจ 580 พอใจอย่างยิ่ง 120 รวม 1,000
1. เตรียมข้อมูล ลงตาราง จับกลุ่ม นับ ตรวจ
2. วิเคราะห์และอภิปรายผล
การวิเคราะห์ - ใช้ค่าทางสถิติ
จำนวนคำตอบทั้งหมดในคำถามข้อนั้น หาค่าร้อยละ จำนวนคำตอบ X 100 จำนวนคำตอบทั้งหมดในคำถามข้อนั้น
ผลรวมของคำตอบทั้งหมด จำนวนคำตอบทั้งหมดในคำถามข้อนั้น หาค่าเฉลี่ย ผลรวมของคำตอบทั้งหมด จำนวนคำตอบทั้งหมดในคำถามข้อนั้น
การคำนวณกรณีให้คะแนน มากที่สุด น้อยที่สุด 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 ตั้งเกณฑ์ เช่น ปีนี้ต้องมีคะแนนมากกว่า 7 หาค่าเฉลี่ย x และเทียบกับเกณฑ์ ปีหน้าอาจตั้งเกณฑ์ให้สูงขึ้น เช่น เป็น 8 เกณฑ์อาจมาจาก กำหนดเอง กำหนดร่วมกันกับประชาชน
คำตอบลักษณะ พอใจมาก ค่อนข้างพอใจ ไม่ค่อยพอใจ ไม่พอใจ 4 3 2 1 คำตอบลักษณะ พอใจมาก ค่อนข้างพอใจ ไม่ค่อยพอใจ ไม่พอใจ 4 3 2 1 1.อาจคิดเป็น % และมีการตั้งเป้าไว้ว่าปีนี้ตัวชี้วัดคือ ประชาชนมากกว่าร้อยละ 75 พอใจการทำงาน (นั่นคือ น่าพอใจมาก + ค่อนข้างพอใจ ต้องมากกว่า 75% จึงจะเข้าเป้าที่ตั้งไว้) 2.อาจคิดเป็นค่าเฉลี่ย ก็ได้ แต่ต้องตั้งมาตรฐานหรือเกณฑ์ด้วยจึงจะดี เช่น ตั้งไว้ที่ 3.5 ขึ้นไป
การอธิบายหรือตีความข้อมูล
ตารางที่ 1 อาชีพของกลุ่มตัวอย่าง (ชื่อตาราง) ประเภทอาชีพ จำนวน ร้อยละ เกษตรกร 200 20.0 ค้าขาย 400 40.0 รับราชการ 100 10.0 รับจ้างทั่วไป ลูกจ้างบริษัท รวม 1,000 100.0
“กลุ่มตัวอย่างจากการสำรวจนี้ประกอบด้วยประชาชนชาวสุพรรณบุรีที่ประกอบอาชีพเกษตรกรมากที่สุด รองลงมาประกอบค้าขาย อาชีพรับจ้างทั่วไป รับราชการ และลูกจ้างบริษัท ตามลำดับ”
ตารางที่ 2 ความพึงพอใจต่อการทำงานของผู้ว่าราชการจังหวัด ความคิดเห็น จำนวน ร้อยละ ไม่พอใจเลย 30 3.0 ไม่ค่อยพอใจ 270 27.0 ค่อนข้างพอใจ 580 58.0 พอใจอย่างยิ่ง 120 12.0 รวม 1,000 100.0
“ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนชาวสุพรรณบุรีร้อยละ 70 พอใจต่อการทำงานของผู้ว่าราชการจังหวัด”
2. การวิเคราะห์&อธิบาย “เลือกเฟ้นหาจุดที่น่าสนใจของข้อมูล แล้วอธิบายให้กะทัดรัด และเข้าใจง่าย”
ใช้กราฟ วงกลม แท่ง ใช้แบบรูปภาพ หน้ายิ้ม ใช้สีสรรในการอธิบาย
3. การนำเสนอข้อมูล
นำเรื่อง.... สำรวจเรื่องอะไร ถามใคร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร (วิธีการ เครื่องมือที่ใช้) ทำไม (เพื่ออะไร การเอาไปใช้ประโยชน์)
เนื้อเรื่อง.... ผลการสำรวจ
สรุปและเสนอแนะ.... ได้อะไรจากการสำรวจ และ มีข้อเสนอแนะอะไรกับสิ่งที่ค้นพบ
ลงตาราง จับกลุ่ม นับ ตรวจ วิเคราะห์ นำเสนอ อธิบาย
“ให้แต่ละกลุ่มทำการประมวล วิเคราะห์ผล และเขียนผลการศึกษา พร้อมออกมานำเสนอ”
กติกาในการนำเสนอ 1. ให้เวลานำเสนอกลุ่มละไม่เกิน 15 นาที 2. แต่ละกลุ่มนำเสนอ 2 ส่วน คือ แผนที่เดินดิน และสรุปผลการสำรวจ 3. สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ 4. ใช้เวลาอีก 5 นาทีสำหรับแสดงความคิดเห็นโดยวิทยากรและสมาชิกในห้องมีส่วนร่วม
ขอบคุณครับ