การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดร.ถวิลวดี บุรีกุล
เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจมั่นคง" วิสัยทัศน์ "น้ำสมบูรณ์ สนับสนุนการผลิต เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจมั่นคง"
เครื่องหมายราชการของกรมชลประทาน เป็นเครื่องหมายรูปกลมลาย กลางเป็นภาพพระวรุณถือพระขรรค์ ประทับยืนอยู่ในซุ้มเรือนแก้ว (หมายถึง อำนาจ บริหาร อันทรงไว้ซึ่งความสุจริต ยุติธรรมและการตัดสินแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ) เสด็จลีลามาบนหลังพญานาค (แสดงว่าสังกัดกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์) ด้านข้างทั้งสองเป็นภาพพญานาค กำลังพ่นน้ำ (หมายถึงการให้น้ำแก่มนุษยชาติ เพื่อใช้ในกิจการต่างๆให้เกิดความอุดมสมบูรณ์) เบื้องล่างนอกขอบเครื่องหมาย มีอักษรข้อความชื่อ กรมชลประทาน เป็นโค้งรองรับ (ไม่จำกัดสีและขนาด) (ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดภาพเครื่องหมายราชการ ตามพระราชบัญญัติ เครื่องหมายราชการ พุทธศักราช 2482 (ฉบับที่ 167) ประกาศ ณ วันที่ 30 มีนาคม 2544 ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 118 ตอนที่ 46ง หน้า 1 ลงวันที่ 7 มิถุนายน 2544
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าคนที่เป็นกุญแจสำคัญไม่ถูกลืม เพื่อวางโครงการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ครอบคลุมกลุ่มผู้มีความสนใจต่อการตัดสินใจนั้น เพื่อประเมินระดับความรุนแรงของความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้นได้
แนวทางการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ศึกษาจากจุดสนใจของแต่ละคน เศรษฐกิจ คนได้หรือเสียผลประโยชน์ ประโยชน์ใช้สอย ผลกระทบทางอ้อมเช่นคุกคามการเข้าใช้ประโยชน์ เงื่อนไขบังคับ เช่นองค์กรกำกับ ควบคุม เช่นเรื่องสิ่งแวดล้อม สุขภาพ การอยู่ใกล้ และอาจได้รับผลกระทบ ค่านิยม ความเชื่อ เช่นคนที่มีความเชื่ออย่างแน่วแน่ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งในวิถีทางการจัดการทรัพยากร
วิธีการวิเคราะห์อื่นๆ ใครจะได้รับผลกระทบ ใครคือผู้แทนกลุ่มที่จะได้รับผลกระทบ ใครที่เป็นกลุ่มน้อยที่ไม่มีโอกาสแสดงความเห็น ใครรับผิดชอบต่อเรื่องท่าจะทำ ใครจะคัดค้านอย่างแข็งขัน ใครสามารถช่วยแบ่งปันทรัพยากรมาให้ได้ ใครที่มีโอกาสที่พฤติกรรม จะเปลี่ยนเพราะมีการตัดสินใจนี้เกิดขึ้น
น่าจะมีจุดสนใจ ผลประโยชน์เกี่ยวข้อง มีความสนใจทั่วไป มองที่จุดสนใจ รับผลกระทบโดยตรง โดยอ้อม น่าจะมีจุดสนใจ ผลประโยชน์เกี่ยวข้อง มีความสนใจทั่วไป
ภาคส่วน ประชาชน เอกชน กลุ่มผลประโยชน์ ปัจเจกบุคคล
ที่ตั้ง ท้องถิ่น ภูมิภาค ประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน นานาชาติ
ต้องวางแผนเป็นทีม แทนการคิดคนเดียว พิจารณาว่าจะเข้ามาไหม จากเอกสารที่มี ใครบ้างที่เข้ามา สอบถามผู้อื่น และคนในท้องถิ่น จากความรู้ชองเจ้าหน้าที่ จากการมีส่วนร่วมในอดีต เช่นจาก นสพ.
ไม่แปลกใจ สังเกตุการณ์ ตรวจสอบทางเทคนิค ให้คำปรึกษา วางแผน ตัดสินใจ http://www.dot.state.mn.us/planning/publicinvolvement/toolsandresources.html
กรณีศึกษา ให้พิจารณาว่าหากท่านต้องทำโครงการต่อไปนี้ท่านจะต้องวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ให้ตอบคำถามว่าใครคือผู้ที่ท่านต้องนำเข้ามาสู่กระบวนการมีส่วนร่วมบ้าง กลุ่มละเรื่อง สร้างฝาย สร้างเขื่อนชลประทาน สร้างคลองส่งน้ำ สร้างอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
1ใครบ้างที่จำเป็นต้องเข้ามาในการวางแผนกระบวนการ คนจากองค์กรที่จะได้รับผลกระทบจากการตัดสินใจ คนหรือหน่วยงานที่จะได้รับเชิญให้มาช่วยในกระบวนการมีส่วนร่วม ผู้ชำนาญการพิเศษ เช่นศิลปิน ผู้ออกแบบ นักเขียน คนที่ต้องการให้เข้ามาเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือให้โครงการ
1.1จะใช้เทคนิคการมีส่วนร่วมอะไรบ้างในแต่ละขั้น เพื่ออะไร วัตถุประสงค์ เทคนิคที่ใช้ ให้ข้อมูล
2จัดเข้าคู่ประเด็นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประเด็นต่างๆ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก เช่น ผลกระทบทางเศรษฐกิจ อยู่ใกล้โตรงการ ความเชื่อ
3ระดับของการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก ร่วมตัดสินใจ ตรวจสอบทางเทคนิค มีส่งนร่วมอย่างแข็งขัน ให้คำแนะนำ