องค์ความรู้ของสำนักวิจัยและพัฒนา ส่วนที่ 1 องค์ความรู้ของสำนักวิจัยและพัฒนา 1.1 หนังสือรายงานประจำปี 2552 ประวัติ สวพ ผลงานในอดีต องค์ความรู้
องค์ความรู้ของสำนักวิจัยและพัฒนา ส่วนที่ 1 องค์ความรู้ของสำนักวิจัยและพัฒนา 1.2 ซีดีองค์ความรู้ทั้งหมดของสำนักวิจัยและพัฒนา คู่มือปฏิบัติงาน 10 เล่ม บทคัดย่องานวิจัย 181 เรื่อง เอกสารเผยแพร่ 12 เรื่อง ซอฟท์แวร์ 3 ชุด
องค์ความรู้ของสำนักวิจัยและพัฒนา ส่วนที่ 1 องค์ความรู้ของสำนักวิจัยและพัฒนา 1.3 หนังสือครบรอบ 60 ปี สำนักวิจัยและพัฒนา
ส่วนที่ 2 แผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การดำเนินงานวิจัยของกรมชลประทาน เสนอกรมแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานวิจัยของกรม จัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ด้านการวิจัย จัดระดมสมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อสร้างงานวิจัยแบบบูรณาการ
ส่วนที่ 2 แผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การดำเนินงานวิจัยของกรมชลประทาน
ส่วนที่ 3 การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ RADA Gate Model II ราคา 500,000บาท สนใจ ติดต่อได้ที่ สำนักวิจัยและพัฒนา
ส่วนที่ 3 การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ SAPRIN WEEDER ราคา 25,000บาท ผลิตได้ 1ชุด/สัปดาห์ สนใจ ติดต่อได้ที่ สำนักวิจัยและพัฒนา
ส่วนที่ 3 การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ PRIN PUMP ราคา 20,000บาท สนใจ ติดต่อได้ที่ สำนักวิจัยและพัฒนา
ส่วนที่ 4 การทดลองทางชลศาสตร์ ห้องทดลองทางชลศาสตร์ที่ใหญ่สุด ในอดีต มีการทดลองแบบจำลองทางชลศาสตร์มาก แต่ปัจจุบันไม่มี ตรวจสอบพฤติกรรมการไหลของน้ำ ตรวจสอบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ตรวจสอบปัญหาตะกอนในทางน้ำ ปัจจุบันการสอบเทียบเครื่องมือต่างๆ มีน้อยมาก
ส่วนที่ 5 ความพร้อมบริการทดสอบและวิเคราะห์ คุณภาพวัสดุเพื่อสนับสนุนโครงการ SP2 ศูนย์บริการทดสอบและวิเคราะห์คุณภาพ ลดขั้นตอน ระยะเวลา ทดสอบ การรายงานผลทาง เว็บไซต์ สำนักวิจัยและพัฒนา มีการติดตามประสิทธิภาพการทดสอบ ให้เป็นตามมาตรฐานเวลา ปริมาณวัสดุทดสอบเพิ่มมากขึ้น (ก.พ.52 มี 2,257 ตัวอย่าง , กพ.53 มี 4,965 ตัวอย่าง)
ส่วนที่ 5
ส่วนที่ 6 การศึกษาเพื่อวางมาตรฐานการทดสอบ ด้านวิศวกรรม จากการสัมมนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกันของผู้เกี่ยวข้องกับงานทดสอบ สำนักชลประทานที่ 1-17 จำนวน 538 คน ในปี 2552 พบว่า จำเป็นต้องมีมาตรฐานการทดสอบในทุก สชป. ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพราะมีผลกระทบกับคุณภาพการก่อสร้าง โดยมาตรฐานการทดสอบที่ต้องดำเนินการมี 4 ด้าน ดังนี้ 1 มาตรฐานเครื่องมือ 2 มาตรฐานวิธีการทดสอบ 3 มาตรฐานบุคลากรทดสอบ 4 มาตรฐานการบริการทดสอบ เป็นภารกิจที่สำนักวิจัยและพัฒนาต้องดำเนินการต่อไป สำหรับประเด็นปัญหาที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จะนำมาหารือร่วมกับ สอบ สชป และ สคญ เพื่อให้ได้ข้อสรุปเสนอกรมต่อไป