สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
Advertisements

การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
รองอธิบดีฝ่ายบำรุงรักษา
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
กระบวนการมอบอำนาจในการตัดสินใจของกรมชลประทาน
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
กรอบอัตรากำลัง สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.จังหวัด) (18) ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัด (1) คณะกรรมการ กศน. จังหวัด/กทม.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
สำนักจัดการปฏิรูปที่ดิน
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ศูนย์สารสนเทศด้าน สาธารณสุขและสุขภาพ การพัฒนาระบบ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (กลุ่มข้อมูลข่าวสารด้าน สุขภาพ) การเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ (กลุ่มด้านสารนิเทศ) กลุ่มที่
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
กลุ่มที่ 1.
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การชี้แจงวิธีการใช้งาน ระบบติดตามออนไลน์
ระบบส่งเสริมการเกษตร
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการ ส.ป.ก. 1,995

แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
โครงสร้างองค์การส่วนกลาง (ฉบับแก้ไข)
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน

1. วิเคราะห์ปัญหา/ความจำเป็น 2. บทบาท ภารกิจ (สำนัก) 3. โครงสร้าง 4. ภารกิจที่ต้องตัดโอนหรือยกระดับให้สูงขึ้น

1. วิเคราะห์ปัญหา/ความจำเป็น ไม่มีมาตรฐานงาน การดำเนินงานการมีส่วนร่วม บุคลากรขาดทักษะที่จำเป็นในการสร้างการมีส่วนร่วม ขาดเจ้าภาพที่จัดการงบประมาณการมีส่วนร่วม ไม่มีหน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพในการวางแผน การสร้างการมีส่วนร่วมอย่างครบกระบวนการ

1. วิเคราะห์ปัญหา/ความจำเป็น(ต่อ) การตอบข้อร้องเรียนไม่มีระบบการติดตาม เพื่อแก้ไขปัญหา ไม่มีการประมวล วิเคราะห์ข้อร้องเรียน เพื่อนำมาปรับปรุงระบบงานให้ดีขึ้น

2. บทบาท ภารกิจ (สำนัก) พัฒนาบุคลากรในการสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคประชาชน กำหนดมาตรฐานงานการมีส่วนร่วมในขั้นตอนการวางโครงการ ก่อนการก่อสร้าง ระหว่างการก่อสร้าง และภายหลังการก่อสร้าง จัดทำแผนงาน งบประมาณ และติดตามประเมินผล

2. บทบาท ภารกิจ (สำนัก) (ต่อ) ปฏิบัติงานในพื้นที่ร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ สร้างเครื่องมือ สร้างสื่อ เพื่อทำกิจกรรมการมีส่วนร่วม ดำเนินการประชาสัมพันธ์ โครงการชลประทานเฉพาะพื้นที่ วางระบบการจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

2. บทบาท ภารกิจ (สำนัก) (ต่อ) ตอบข้อเสนอ ข้อร้องเรียน และติดตามการดำเนินงาน จนกระทั่งการแก้ไขปัญหาแล้วเสร็จ ประมวลและวิเคราะห์ข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงกระบวนการทำงานของสำนัก/กอง พัฒนาระบบฐานข้อมูลข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะ

มาตรฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน ศึกษา สำรวจ ออก แบบ จัดหาที่ดิน กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 ... TYPE A TYPE B กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 ... TYPE A TYPE B กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 ... TYPE A TYPE B กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 ... TYPE A TYPE B ก่อนการก่อสร้าง ระหว่างการก่อสร้าง ส่งน้ำและบำรุง รักษา กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 ... TYPE A TYPE B กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 ... TYPE A TYPE B กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 ... TYPE A TYPE B

ภารกิจที่ต้องตัดโอนหรือยกระดับให้สูงขึ้น 1 การพัฒนาองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทานจาก”กลุ่มงานพัฒนาการบริหารจัดการน้ำ สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ” 2 การตอบข้อร้องเรียน จาก “ฝ่ายช่วยอำนวยการและประสานราชการ สำนักงานเลขานุการกรม” 3 ยกระดับ “ฝ่ายส่งเสริมการใช้น้ำ” ของสำนักชลประทาน เป็น “กลุ่มส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน”

แบบที่ 9 สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน เครือข่ายด้าน ปรับปรุงเมื่อ 18 ก.พ. 2551 สำนักบริหารโครงการ กองกฎหมายและที่ดิน เครือข่ายด้าน พัฒนาแหล่งน้ำ เครือข่ายด้าน บริหารจัดการน้ำ สำนักชลประทาน 1 -17 สำนักโครงการขนาดใหญ่ สำนักงานจัดรูปที่ดินกลาง สำนักออกแบบฯ สำนักอุทกวิทยาฯ สำนักสำรวจฯ ฝ่ายบริหารทั่วไป ส่วนวิชาการ ส่วนส่งเสริมการมีส่วนร่วม ศูนย์จัดการข้อร้องเรียนและไกล่เกลี่ยกรณีพิพาท งานธุรการ งานบัญชีและการเงิน งานการเจ้าหน้าที่ งานพัสดุ กลุ่มงานส่งเสริมการมีส่วนร่วมด้านพัฒนาแหล่งน้ำ กลุ่มงานส่งเสริมการมีส่วนร่วมด้านบริหารจัดการน้ำ เสนอแนวนโยบายและแผนงานการมีส่วนร่วม พัฒนามาตรฐานทางวิชาการด้านการมีส่วนร่วม พัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงาน ให้คำปรึกษาแนะนำ พัฒนาระบบข้อมูล ติดตามประเมินผล วางระบบการจัดการข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียนต่างๆ เป็นศูนย์กลางข้อมูลในการรับและตอบข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียนต่างๆ ประมวลและ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทบทวนและปรับปรุงกระบวนงาน ให้คำปรึกษา แนะนำและสนับสนุนการดำเนินการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาท พัฒนาขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ด้านการป้องกันและไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พัฒนากระบวนการดำเนินงานส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาแหล่งน้ำในระดับชุมชนท้องถิ่น /จังหวัด/ภูมิภาค พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ ส่งเสริมสร้างความเข้าใจกับภาคีเครือข่าย พัฒนาขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ สนับสนุนกิจกรรมภายใต้แผนปฏิบัติการของเครือข่าย พัฒนากระบวนการดำเนินงานส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการน้ำ พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ ส่งเสริมสร้างความเข้าใจกับภาคีเครือข่าย พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทานสู่ความเป็นสถาบันที่ยั่งยืน พัฒนาขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่และเกษตรกร สนับสนุนกิจกรรมภายใต้แผนปฏิบัติการของเครือข่าย