การจัดการความรู้ สชป.11 ประจำปีงบประมาณ 2555.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

วิสัยทัศน์ชมรมวิสัญญีพยาบาล แห่งประเทศไทย ปีพ.ศ
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
การประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2011
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
KM AAR.
สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 23 ธันวาคม 2551 ณ ห้องประชุมศาลาชื่นอารมณ์
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
EdPEx Kick off.
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กรอบการพิจารณา Ranking ปี 2557
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
การประชุมทีมงานเครือข่าย การจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
นโยบายด้านการทำวิจัย สถาบัน และการจัดการองค์ความรู้ ของ CITCOMS 5 สิงหาคม 2557.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระบบข้อมูลสารสนเทศ 4.2 กระบวนงานพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ สชป.11 ประจำปีงบประมาณ 2555

ผลการประเมินการจัดการความรู้ KMA หมวดที่ ค่าเฉลี่ยคะแนนการตรวจประเมิน KMA 1.การนำองค์กร 4.00 2.การวางแผนยุทธศามสตร์ 2.80 3.การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและมีส่วนได้ส่วนเสีย 3.17 4.การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 3.22 5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6.การจัดการกระบวนการ รวมเฉลี่ย 3.56

สรุปผลการจัดการความรู้ในปี 55 และแนวทางการจัดการวามรู้ในปี 56 ประเด็นที่ยังทำได้ดี ทีมงานมีความเข้มแข็ง และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี การรักษามาตรฐานขององค์ความรู้ที่จะนำมาลงคลังความรู้ CKO ให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

สรุปผลการจัดการความรู้ในปี 55 และแนวทางการจัดการวามรู้ในปี 56 (ต่อ) ประเด็นที่ต้องดำเนินการปรับปรุง การสร้างความต่อเนื่องของกิจกรรม KM สชป.11 ได้รับผลกระทบจากมหาอุทกภัยในปี 54 ทำให้ความต่อเนื่องของกิจกรรมการจัดการความรู้ลดน้อยลง ในปี 56 ได้กำหนดเกณฑ์ในเบื้องต้นจะประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าการจัดการความรู้อย่างน้อยทุก 2 เดือน การแสวงหาความรู้เพิ่มเติม เดิมใช้กิจกรรม 1 หน่วยงาน 1 องค์ความรู้ เพื่อสร้างนวัตกรรมในสำนักฯ และเกิดการขยายผลการจัดการความรู้ให้ทั่วถึงทุกหน่วยงานในสำนักฯ เป็นการเพิ่มภาระให้โครงการฯ โดยปี 56 จะชะลอกิจกรรมดังกล่าวไปก่อน แต่เน้นแนวทางภาคสมัครใจแทน

สรุปผลการจัดการความรู้ในปี 55 และแนวทางการจัดการวามรู้ในปี 56 (ต่อ) ประเด็นที่ต้องดำเนินการปรับปรุง การถ่ายทอดและการขยายผลการจัดการความรู้ มีการถ่ายทอดความรู้ทางคลังความรู้ของสำนักฯเท่านั้นไม่มีกระบวนการติดตาม และประเมินผลการนำองค์ความรู้ไปใช้ ในปี 56 วางแผนจะดำเนินการนำร่อง 1 องค์ความรู้ แผนงานกิจกรรมการจัดการความรู้ของสำนัก ในปี 55 ประชุม 4 ครั้ง site visit 4 ครั้ง COPs 2 ครั้ง และ จัดนิทรรศการ 2 ครั้ง ในปี 56 เน้น จัด COPs ให้มากขึ้น

สรุปผลการจัดการความรู้ในปี 55 และแนวทางการจัดการวามรู้ในปี 56 (ต่อ) ประเด็นที่ต้องดำเนินการปรับปรุง แผนสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ ในปี 55 เลือก 2 องค์ความรู้ คือ 1.บูรณาการสถานีสูบน้ำด้วยกิจกรรม 5 ส (ดำเนินการครบถ้วน) 2.ติดตามการดำเนินงานตามนโยบายเร่งด่วน (ยังดำเนินการไม่ครบถ้วน) การพัฒนาปรับปรุงคลังความรู้ คลังความรู้ไม่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน ในปี 56 จะดำเนินการปรับปรุงคลังความรู้ให้มีองค์ความรู้เป็นหมวดหมู่ง่ายต่อการสืบค้น ครบถ้วน และสามารถนำไปใช้การปฏิบัติงานได้

ข้อเสนอแนะ ขอให้กรมฯช่วยยึดเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งในการจัดการความรู้อย่างน้อย 3-5 ปี องค์ความรู้ที่ได้รางวัลนวัตกรรมให้มีการนำไปขยายผลเพื่อให้เกิดประโยชน์กับกรมฯให้มากกว่านี้ ให้พิจารณาความดีความชอบพิเศษแก่ผู้ได้รางวัลด้านต่างๆของ KM

END