การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าที่ความรับผิดชอบ
Advertisements

Your company slogan The KKU SHOW & SHARE 2011 การสร้างโปรแกรมติดตามผลการ ปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติ ราชการประจำปี (Warning System) เจ้าของ ผลงาน นางวลาลักษณ์
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
กลุ่ม อินทนนท์.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การจัดการความรู้ สชป.11 ประจำปีงบประมาณ 2555.
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
ส่วนมาตรฐาน/ส่วนวิชา การ/ส่วนวิศวกรรม
1. วางแผนสำรวจความรู้ที่สำคัญ และจำเป็นที่ต้องใช้ในการ ปฏิบัติงานในหน่วยงานต่างๆ 2. ค้นหาความรู้ที่สำคัญ และ จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
แนวทางการบริหารของ สพท
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รายงานการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การศึกษาดูงานโรงพยาบาลประสาท
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การทำ Social Mapping เพื่อหาข้อตกลง
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
กลุ่มที่ 2 Blueprint for Change (BFC). รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 2 1. นิตยา วงศ์เดอรี ประธาน 2. สมคิด จันทมฤก เลขานุการ 3. สีหเดชา กลิ่น หอมหวล 4. ศิธร ปถม.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
.ผลงานด้านการเตรียมการสอน การจัดทำแผนการสอน
คณะทำงานจัดการองค์ความรู้
ศึกษา / ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง ถ่ายทอดจากประสบการณ์การทำงาน โดยการประชุมกลุ่ม ทุกวันอังคาร และวันพฤหัสบดี มอบหมายหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รายงานความคืบหน้าการจัดทำ.
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
แผนพัฒนาบุคลากร สคร.6 ปี 2554
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
โครงสร้างส่วนราชการ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเป้า
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
กลุ่ม 9 การพัฒนา บุคลากรของ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15 การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15

ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น 1. CKO ของสำนัก 2. ประธานทีมงานจัดการความรู้ 3. รองประธานทีมงานจัดการความรู้ 4. ทีมงานด้านการจัดการความรู้ 5. ชุมชนนักปฏิบัติ 6. เจ้าหน้าที่ของส่วน ฝ่าย โครงการ 7. ผอ.ส่วน หัวหน้าฝ่าย ผอ.โครงการ

CKO ของสำนักชลประทานที่ 15 (นายประสิทธิ์ ชรินานนท์) ผส.ชป.15

ให้ความสำคัญและร่วมในกิจกรรม การจัดการความรู้ ประกาศนโยบายการจัดการความรู้

ร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ตามวาระต่าง ๆ

ให้ทีมงานรายงานความก้าวหน้า/ผลการดำเนินการ ในการประชุมประจำเดือนของสำนัก

สนับสนุนทรัพยากรและงบประมาณในการดำเนินการ สร้างห้องเรียนรู้

งบประมาณจัดโครงการอบรมต่าง ๆ จจ งบประมาณจัดโครงการอบรมต่าง ๆ

งบประมาณในการจัดทำเสื้อทีมงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรม มาจจ งบประมาณในการจัดทำเสื้อทีมงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรม

เสริมสร้างแรงจูงใจ สนับสนุน ยกย่อง ให้รางวัล กล่าวเชิดชูเกียรติและยกย่องในที่ประชุม สนับสนุนให้เลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น เสริมสร้างแรงจูงใจ สนับสนุน ยกย่อง ให้รางวัล พิจารณาในการเลื่อนเงินเดือน/ค่าจ้างเพิ่มจากปกติ จัดเวทีสัมมนาให้ ถ่ายทอดความรู้ พร้อมกล่าวเชิด ชูเกียรติ ให้รางวัล สนับสนุนให้เขียนหนังสือถ่ายความรู้ประสบการณ์ในการทำงาน

ประธานทีมงานจัดการความรู้ (นายสิริวิชญ กลิ่นภักดี) ผชช.ชป.15 ประธานทีมงานจัดการความรู้ (นายสิริวิชญ กลิ่นภักดี) ผชช.ชป.15

ประธานทีมงานจัดการความรู้ กำกับ ติดตาม และวางแผนการจัดการความรู้ จุดประกายความคิด กระตุ้นให้เห็นความสำคัญ ประชุมติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ ให้คำปรึกษาในทุก ๆ เรื่อง ให้แนวคิดและช่วยหาทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ตื่นตัว สนุก ให้กำลังใจยามเหนื่อยและท้อ

รองประธานทีมงานจัดการความรู้ (นายพีระศักดิ์ ชมพูนุช) กอบ.ชป.15 รองประธานทีมงานจัดการความรู้ (นายพีระศักดิ์ ชมพูนุช) กอบ.ชป.15

รองประธานทีมงานจัดการความรู้ มีความรับผิดชอบ ขยัน เสียสละ ทุ่มเท มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ ติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ ร่วมคิดและร่วมแก้ไขปัญหา อุปสรรค ให้กำลังใจยามเหนื่อยและท้อ

ทีมงานด้านการจัดการความรู้ ทีมงานจัดการความรู้ คณะทำงานประมวลและกลั่นกรองความรู้ คณะทำงานรวบรวมและนำเข้าข้อมูล สู่คลังความรู้ ทีมงานตอบประเด็นคำถามและรวบรวม หลักฐาน

ชุมชนนักปฏิบัติ ชุมชนนักปฏิบัติสายงานหลัก 3 ชุมชน ชุมชนนักปฏิบัติสายงานหลัก 3 ชุมชน 1. ชุมชนนักด้านการพัฒนาแหล่งน้ำ 2. ชุมนักปฏิบัติด้านการบริหารจัดการน้ำ 3. ชุมชนนักปฏิบัติด้านการป้องกันและ บรรเทาภัยภัยอันเกิดจากน้ำ

ชุมชนนักปฏิบัติ (ต่อ) ชุมชนนักปฏิบัติ (ต่อ) ชุมชนนักปฏิบัติสายงานสนับสนุน 5 ชุมชน 1. ชุมชนนักด้านการเงินและบัญชี 2. ชุมนักปฏิบัติด้านพัสดุ 3. ชุมชนนักปฏิบัติด้านธุรการและการเจ้าหน้าที่ 4. ชุมชนักปฏิบัติด้านช่างกล 5. ชุมชนนักปฏิบัติด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และประชาสัมพันธ์

เจ้าหน้าที่ของส่วน ฝ่าย โครงการ 1. สนับสนุนข้อมูล หลักฐานการปฏิบัติงานในส่วน ที่เกี่ยวข้อง 2.ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในการ ทำกิจกรรม 2. เข้าร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ ตามวาระต่าง ๆ

ผอ.ส่วน หัวหน้าฝ่าย ผอ.โครงการ 1. ให้ความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรม 2. สนับสนุน ให้ความร่วมมือในการให้ เจ้าหน้าที่ในสังกัดเข้าร่วมกิจกรรม 3. อนุเคราะห์สถานที่และเจ้าหน้าที่ช่วยเหลือ ในการทำกิจกรรม

จุดอ่อนในการจัดการความรู้ของ สชป.15 การจัดการความรู้ยังไม่ทั่วถึงทั้งองค์การ บุคลากรส่วนใหญ่ยังไม่เห็นความสำคัญ และเห็นประโยชน์ของการจัดการความรู้ ทีมงานมีภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ หลายหน้าที่

จุดอ่อนในการจัดการความรู้ของ สชป.15 (ต่อ) ทีมงานส่วนหนึ่งอยู่ต่างจังหวัดต้องใช้เวลา หลายชั่วโมงในการเดินทางเพื่อมาประชุม หรือทำกิจกรรม กิจกรรมด้านจัดการความรู้หลายกิจกรรมที่ ดำเนินการในช่วงเกือบสิ้นปีงบประมาณ ผลงานด้านนวัตกรรมมีน้อย

จบการนำเสนอค่ะ