1.2 สื่อและหลักการนำเสนอข้อมูล 18 มิถุนายน 2552
1.1 ความหมายของ Data และ Information เรารู้จักความหมายของคำว่า “Data” ที่แปลว่า “ข้อมูล” และ “Information” ที่แปลว่า “ข้อมูลสารสนเทศ” มากน้อยขนาดไหน ?
ข้อมูลดิบ ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ INFORMATION: แสดงความหมาย (Meaning) โดย แสดงความสัมพันธ์ (Correlation) แสดงรูปแบบ (Pattern) ซึ่งขึ้นอยู่กับเวลา อยู่ภายใต้บริบทที่แน่นอน KNOWLEDGE: ส่วนผสมของประสบการณ์ ค่านิยม ความเชี่ยวชาญ ซึ่งใช้เป็นกรอบในการตัดสินใจได้ คุณค่าของความรู้จึงวัดที่ผลของการกระทำ ข้อมูลดิบ (DATA) ข้อมูลสารสนเทศ (Information) ความรู้ (Knowledge) DATA: บันทึกที่แสดงถึงความเคลื่อนไหวในกิจกรรมประเภทต่างๆ เป็นบันทึก ที่ยังไม่มีความหมายในตัวของมันเอง คุณค่าอยู่ที่: ความทันเหตุการณ์, ความรวดเร็ว และความจุ/ปริมาณ
1.2 สื่อและหลักการนำเสนอข้อมูล 1) ประเภทของสื่อนำเสนอ 2) ข้อเด่นและด้อยของสื่อนำเสนอ แต่ละประเภท 3) หลักการเบื้องต้นในการนำเสนอข้อมูล
ประโยชน์ของการใช้สื่อ ช่วยให้เรื่องยากกลายเป็นเรื่องง่าย เพิ่มความหลากหลายของสาระและวิธีการ เป็นส่วนเสริมจากการบรรยาย ช่วยให้ประเด็นที่เสนอชัดเจนขึ้น ร่นระยะเวลาในการอธิบายเรื่องที่ยาก เพิ่มความสนใจและการติดตาม ลดความตึงเครียดของผู้เสนอและผู้ฟัง (ชม)
ข้อควรรู้ 75-90% ของสิ่งที่เราเรียนรู้ รับผ่านทางประสาทตา การจดจำจากการที่ทั้งได้ยินและได้เห็น จะมากกว่าการฟังอย่างเดียว 45% ความจดจำจะเพิ่มขึ้น 3 เท่าตัว เมื่อเราได้ชม (ดูและฟัง) สื่อนำเสนอที่ดีควบคู่กันไป
คุณค่าของงานนำเสนออาจลดคุณค่าลงได้จาก: ใช้สื่อการนำเสนอมากเกินความจำเป็น มีเทคนิคการนำเสนอไม่ดีพอ-สับสน มีข้อความมากเกินไป สื่อไร้สีสัน ใช้สื่อผิดจังหวะนำเสนอ ใช้สื่อไม่มีความต่อเนื่อง แนบเนียน วิธีการนำเสนอที่ขาดการเตรียมการ
ประเภทของสื่อนำเสนอ 1. กระดาน 2. แบบจำลอง 3. แผ่นใส 4. เอกสารประกอบ 5. สไลด์ภาพนิ่ง 6. แผนภูมิ 7. ฟลิปชาร์ต 8. วีดีทัศน์ และแถบบันทึกเสียง 9. ภาพยนตร์ 10. การสาธิต 11. คอมพิวเตอร์
ข้อเด่นและด้อยของสื่อนำเสนอแต่ละประเภท กระดาน ข้อเด่น ข้อด้อย ใช้ง่าย ค่าใช้จ่ายต่ำ มีฝุ่นจากชอล์คหรือสีจากปากกาที่ใช้เขียน เหมาะกับห้องบรรยายขนาดเล็ก ขาดความเชื่อมต่อระหว่างผู้นำเสนอและผู้เข้าฟัง
แบบจำลอง (Model) ข้อเด่น ข้อด้อย ให้รายละเอียด 3 มิติ ตามสัดส่วนและสีสันที่เหมือนจริง ยุ่งยากในการจัดทำ ทำให้มองเห็นภาพลักษณ์ที่คล้ายจริง ราคาสูง
แผ่นใส ข้อเด่น ข้อด้อย ราคาถูก สิ้นเปลืองหลอดไฟ เคลื่อนย้ายค่อนข้างสะดวก ใช้ได้กับผู้ฟังกลุ่มเล็ก-ปานกลาง
ไสด์ภาพนิ่ง ข้อเด่น ข้อด้อย ราคาปานกลาง การเตรียมยุ่งยาก ให้รายละเอียด-คมชัด อายุการใช้งานปานกลาง
ฟลิปชาร์ต (Flip-chart) ข้อเด่น ข้อด้อย ราคาถูก-การเตรียมง่าย ใช้ได้เฉพาะกับผู้ชมกลุ่มย่อย บันทึกข้อเสนอแนะของผู้ฟังได้ทันที อาจเสียความต่อเนื่องระหว่างการเปลี่ยนพลิกแผ่น สามารถเพิ่ม-ลดจำนวนหน้าได้ตลอดเวลา
เอกสารประกอบ ข้อเด่น ข้อด้อย ราคาปานกลาง ใช้ข้อมูลและทักษะในการเตรียม-จัดทำมาก มีรายละเอียดมาก ใช้เวลาในการเตรียม-จัดทำนาน ใช้ได้กับผู้ฟัง/ชมจำนวนมาก
แผนภูมิ ข้อเด่น ข้อด้อย ราคาปานกลาง ใช้เวลาและทักษะในการเตรียม-จัดทำ มีความน่าสนใจ ผู้นำเสนอต้องมีความรู้และทักษะสูง ใช้ได้กับผู้ฟัง/ชมจำนวนมาก
วีดีทัศน์ และแถบบันทึกเสียง ข้อเด่น ข้อด้อย มีความน่าสนใจ ใช้เวลาและทักษะในการเตรียม-จัดทำ ใช้ได้กับผู้ฟัง/ชมจำนวนมาก ราคาแพง หากนานเกินไป ผู้นำเสนออาจไม่ใช่จุดสนใจ
การสาธิต ข้อเด่น ข้อด้อย มีความน่าสนใจ ใช้เวลาและทักษะในการเตรียม-จัดทำ เกิดความเชื่อมโยงทางปฏิบัติในระหว่างนำเสนอ วัสดุอาจมีราคาแพง ใช้ได้กับกลุ่มผู้ชม/ฟังจำนวนน้อย
การใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และSoftwares ข้อเด่น ข้อด้อย มีความน่าสนใจ ใช้เวลาและทักษะในการเตรียม-จัดทำ มีเทคนิคและ Application ให้เลือกใช้มาก เครื่องมือมีราคาแพง ใช้ได้กับกลุ่มผู้ชม/ฟังได้หลายขนาด
หลักการนำเสนอ-ASSURE MODEL A = Analyzing Learner คือการวิเคราะห์ผู้ฟัง S = State Objective คือการตั้งวัตถุประสงค์การเรียนรู้ S = Select Media and Method คือ การเลือกสื่อ อุปกรณ์และวิธีการ U = Utilize Media คือ การปฏิบัติการนำเสนอและใช้สื่อ R = Require Learner Participation คือ การกำหนดว่าผู้ฟังควร/จะต้องกระทำสิ่งใด E = Evaluation and Revise คือ การประเมินผล และแก้ไขปรับปรุง
การจำแนกกลุ่มของผู้รับ/บริโภคข้อมูล จำนวนผู้ฟัง เพศ ระดับอายุ พื้นฐานการศึกษา ประสบการณ์ในเรื่องนั้นๆ หน้าที่การงาน ตำแหน่ง ความสนใจ วัฒนธรรม ศาสนา ภาษา อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจ
Application & Format สำหรับ การนำเสนอข้อมูล Microsoft Office Microsoft Visio GIS programs Graphic Programs Macromedia Application Internet Browsers Adobe Acrobat ฯลฯ
จริยธรรมในการใช้ข้อมูลของผู้อื่น สำหรับการนำเสนอ นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างว่าเป็นผลงาน ของตนเอง นำผลงานของผู้อื่นที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ ไปเผยแพร่ จงใจอ้างอิงผู้ร่วมวิจัยไม่ให้ถูกต้อง ลอกเลียนผลงานผู้อื่น อ้างอิงไม่ถูกต้อง (ที่มา: ลัดดา กุลมานันท์. 2540. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน-ธันวาคม 2540 หน้า 7-10.)