การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนที่วัฒนธรรมในเขตคูเมืองลำพูน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การจัดทำงบประมาณ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
ณ ห้องประชุม ปค.๑ อาคารกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
การประชุมชี้แจง เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี กรมการพัฒนาชุมชน ผ่านระบบ Web Conference วันจันทร์ ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕.
1. การให้ความรู้ด้านการผังเมือง
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การจัดทำแผนกลยุทธ์ กรม จังหวัด ใสสะอาด
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ. ๒๕๕๐ พ. ร. บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ. ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕๓ / ๑ ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
วันพุธที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๑ เวลา ๐๙.๐๐ น.- ๑๕.๐๐ น.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) KICK OFF.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
งาน 1 : สรุป และนำเสนอ. 1. สถานการณ์ ที่มาและความสำคัญ. 2
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ และ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผล.
ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานต่างๆ
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สำนักประสานและติดตามนโยบาย ???
สรุปการประชุมระดมความคิด
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
การจัดทำคำรับรองการ ปฏิบัติราชการ กลุ่มนโยบายและ ยุทธศาสตร์
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแผนที่วัฒนธรรมในเขตคูเมืองลำพูน แบบมีส่วนร่วม วันที่ 12 มีนาคม 2550 ณ ศาลาประชาคมจังหวัดลำพูน

ลำพูนเมืองโบราณ

กรอบแนวทางการพัฒนาจังหวัดลำพูน ผลประโยชน์ของชาวลำพูน เป้าหมาย ผลประโยชน์ของชาติ ลำพูนเป็นเมืองน่าอยู่ ชาวลำพูนมีความสุข ผู้มาเยือนประทับใจ ความมั่นคง ประโยชน์สุขของประชาชน ความอยู่เย็นเป็นสุขอย่างยั่งยืน นโยบายรัฐบาล วาระแห่งชาติ วาระแห่งชาติ ภาคราชการ รัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ ภาคเอกชน คณะกรรมการสนับสนุนการบริหาร งานจังหวัดแบบบูรณาการ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด องค์กรปกครองท้องถิ่น คณะกรรมการยุทธศาตร์กลุ่มจังหวัด ภาคประชาชน ยุทธศาสตร์จังหวัดลำพูน คณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ(กบจ.) พันธมิตร/ภาคีการพัฒนา โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัดลำพูน กลุ่มภารกิจ (cluster) ด้านสังคม กลุ่มภารกิจ (cluster) ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มภารกิจ (cluster) ด้านความมั่นคง Agenda Agenda Agenda Agenda Agenda Agenda Agenda Agenda Agenda การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)

การบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม คือ การบริหารราชการที่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงาน ของรัฐ ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการบริหารและดำเนินงานของรัฐ ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อที่ จะตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน

การบริหาราชการแบบมีส่วนร่วม (การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม) ฐานที่มาของความคิดตามกรอบกฎหมาย - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 56, 57,58, 59, 60, 62, 66,67, 74, และ 78 เป็นต้น - พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 (การมีส่วนร่วม และโปร่งใส) - พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 8 (3)(4) (5) มาตรา 39, 43, และ 44 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-พ.ศ. 2550) ยุทธศาสตร์ที่ 7

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย(พ.ศ.2546-2549) วิสัยทัศน์ “ พัฒนาระบบราชการไทย ให้มีความเป็นเลิศ สามารถรองรับกับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิวัฒน์ โดยยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และ ประโยชน์สุขของประชาชน “

คณะกรรมการอำนวยการและประสานงาน ประกอบด้วย 1.รองผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน (นายเฉลิมชัย วรวุฒิพุทธพงศ์) ประธาน 2.หัวหน้าสำนักงานจังหวัดลำพูน กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการอำนวยการและประสานงาน มีหน้าที่ 1.อำนวยการและประสานงาน 2.กำกับและติดตาม รวมทั้งให้คำปรึกษาแนะนำ 3.ประเมินผลและประชาสัมพันธ์ 4.สรุปผลการดำเนินงานเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน รวมทั้งเผยแพร่สู่หน่วยงานต่าง ๆ และผู้สนใจ

คณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน (Citizen Advisory Board) ประกอบด้วย 1. ร.ศ.สมโชติ อ๋องสกุล 2. ทพ.อุทัยวรรณ กาญจนกามล 3. ผศ.เมธิสา พงษ์รักเกียรติ

คณะกรรมการที่ปรึกษาภาคประชาชน (Citizen Advisory Board) มีหน้าที่ 1. ให้คำปรึกษาและสนับสนุนทางวิชาการ 2. จัดทำรายงานความก้าวหน้าและประเมินผล สำเร็จ 3. สรุปบทเรียนและข้อเสนอแนะ แนวทางการ พัฒนาและสร้างกระบวนการบริหารระบบเปิด ต่อไป

คณะกรรมการจัดทำฐานข้อมูลทางวัฒนธรรม ประกอบด้วย 1.โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดลำพูน ประธาน 2.หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการจัดทำฐานข้อมูลทางวัฒนธรรม มีหน้าที่ 1.สำรวจ ศึกษาและรวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรมและกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนที่พึงจะเป็น 2.เผยแพร่ความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม 3.นำเสนอข้อมูลทางวัฒนธรรมและความรู้ต่อ ที่ประชุมระดมความคิดเห็น 4.จัดทำรายงานวิชาการและนำเสนอผลต่อคณะกรรมการอำนวยการและประสานงาน

คณะกรรมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ระดมความคิดเห็น ประกอบด้วย 1. โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดลำพูน ประธาน 2. หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ระดมความคิดเห็น มีหน้าที่ 1. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการระดมความคิดเห็น 2. รวบรวมความคิดเห็นจัดทำสรุปรายงานผล 3. สำรวจความพึงพอใจในการมีส่วนร่วม 4. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ 5. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานเสนอคณะ กรรมการอำนวยการและประสานงาน