งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมชี้แจง เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี กรมการพัฒนาชุมชน ผ่านระบบ Web Conference วันจันทร์ ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมชี้แจง เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี กรมการพัฒนาชุมชน ผ่านระบบ Web Conference วันจันทร์ ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมชี้แจง เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี กรมการพัฒนาชุมชน ผ่านระบบ Web Conference วันจันทร์ ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อการตัดสินใจ War Room

2 นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี Organizational Governance (OG)
กรมการพัฒนาชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

3 นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
ความหมาย นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี หมายถึง การประกาศเจตนารมณ์ขององค์การ ที่จะดำเนินการ และกำหนดนโยบายตามหลัก ธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยผู้บริหารของแต่ละองค์การจะต้องวางนโยบายเกี่ยวกับรัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์การและผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งกำหนดแนวทางปฏิบัติ และมาตรการหรือโครงการ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบายขององค์การ

4 วัตถุประสงค์ 4 1. เพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลใน การดำเนินงานของหน่วยงาน
1. เพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลใน การดำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐให้เกิดขึ้นอย่างเป็น รูปธรรม 2. เพื่อเป็นกรอบการดำเนินงาน ตามหลักธรรมาภิบาลและ ค่านิยมขององค์การ 3. เพื่อให้การดำเนินงานของ ภาครัฐเป็นที่ศรัทธา มั่นใจ และไว้วางใจจากประชาชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวม ทั้งเป็นที่ยอมรับในระดับ สากล 4

5 ที่มาและกรอบแนวคิด 4. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ มาตรา 74 และ 78 2. พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฉบับที่ 5 (2545) มาตรา 3/1 3. พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 4. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย 5

6 ที่มาและกรอบแนวคิด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
1. Good Governance 2. รัฐธรรมนูญแห่งาชอาณาจักรไทย พ.ศ มาตรา 74 และ 78 3. พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 4. พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 5. PMQA หมวด 1 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 78 (4) (5) รัฐต้องดำเนินการตาม แนวนโยบายด้านการบริหารราชการ แผ่นดินดังต่อไปนี้ (4) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้น การพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และ จริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไป กับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทำงาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้ หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติราชการ (5) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐ อย่างอื่น เพื่อให้การจัดทำและการให้ บริการสาธารณะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มี ประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยคำนึงถึงการส่วนร่วมของประชาชน มาตรา 74 กำหนดให้ “บุคคลผู้เป็น ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วย ราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการ ให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการ แก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในการปฏิบัติ หน้าที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้อง กับประชาชน บุคคลตามวรรคหนึ่งต้อง วางตนเป็นกลางทางการเมือง….” หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย 6

7 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 (2545) มาตรา 3/1
ที่มาและกรอบแนวคิด พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 (2545) มาตรา 3/1 1. Good Governance 2. รัฐธรรมนูญแห่งาชอาณาจักรไทย พ.ศ มาตรา 74 และ 78 3. พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 4. พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 5. PMQA หมวด 1 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไป เพื่อ ประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็นการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง” “ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้” 7

8 ที่มาและกรอบแนวคิด พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 1. Good Governance 2. รัฐธรรมนูญแห่งาชอาณาจักรไทย พ.ศ มาตรา 74 และ 78 3. พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 4. พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 5. PMQA หมวด 1 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (มาตรา 6) หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของ (มาตรา 7-มาตรา 8) ประชาชน หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (มาตรา 9-มาตรา 19) ต่อภารกิจของรัฐ หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ (มาตรา 20-มาตรา 26) และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (มาตรา 27-มาตรา 32) หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (มาตรา 33-มาตรา 36) หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง (มาตรา 37-มาตรา 44) ความต้องการของประชาชน หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (มาตรา 45-มาตรา 49) หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด (มาตรา 50-มาตรา 53) 8

9 ที่มาและกรอบแนวคิด 1.1 ข. การกำกับดูแล ตนเองที่ดี
1. Good Governance 2. รัฐธรรมนูญแห่งาชอาณาจักรไทย พ.ศ มาตรา 74 และ 78 3. พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 4. พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 5. PMQA หมวด 1 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย 1.1 ข. การกำกับดูแล ตนเองที่ดี 1.2 ก. ความรับผิดชอบ ต่อสาธารณะ 1.2 ข. การดำเนินการ อย่างมีจริยธรรม 1.2 ค. การให้การสนับสนุน ต่อชุมชนที่สำคัญ 9

10 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555)
ที่มาและกรอบแนวคิด ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ พ.ศ. 2555) 1. Good Governance 2. รัฐธรรมนูญแห่งาชอาณาจักรไทย พ.ศ มาตรา 74 และ 78 3. พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 4. พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 5. PMQA หมวด 1 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและ การทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความลับซํบซ้อนหลาก หลาย และเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงานให้มีลักษณะเชิงบูรณาการ เกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ระชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจและสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดมรรถนะสูงบุคลากรมีความพร้อมและวามสามารถในการเรียนรู้คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่าง ๆ 10

11 ยกเลิกแล้ว หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
1. การมีส่วนร่วม (Participation) 2. ความโปร่งใส (Transparency) 10. การมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) 3. การตอบสนอง (Responsiveness) คุณภาพ 9.ความเสมอภาค/เที่ยงธรรม (Equity) 4.ภาระรับผิดชอบ (Accountability) เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน 8.นิติธรรม (Rule of law) 5. ประสิทธิผล (Effectiveness) วิสัยทัศน์เชิงยุทธศาสตร์ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พศ 2542 Good Governance 7.การกระจายอำนาจ (Decentralization) 6.ประสิทธิภาพ (Efficiency) ความคุ้มค่า 1. หลักนิติธรรม 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปร่งใส 4. หลักความมีส่วนร่วม 5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลักความคุ้มค่า ยกเลิกแล้ว

12 ขั้นตอนการจัดทำนโยบายฯ
เตรียมการ 2. จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ 1. กำหนดผู้รับผิดชอบจัดทำ นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ขั้นตอนการจัดทำร่าง นโยบายการกำกับดูแล องค์การที่ดี 6. ขออนุมัติและการประกาศใช้ 7. นำนโยบายฯ ไปสู่การปฏิบัติ ขั้นตอนการนำ ไปปฏิบัติและ ประเมินผล 4. กำหนดร่างนโยบายหลัก 4 ด้าน 3. ประชุมทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจค่านิยมหลักขององค์การ 5. กำหนดแนวทางปฏิบัติภายใต้นโยบายหลัก 4 ด้าน ติดตามประเมินผล ดำเนินการ/จัดกิจกรรม กำหนดมาตรการ/โครงการ สร้างความเข้าใจ สื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ 12

13 ข้อแนะนำเกี่ยวกับการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้กำหนดเป็นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
สนองนโยบายรัฐ ปฏิบัติงานตามกรอบกฎ ระเบียบของรัฐ เป็นกลางทางการเมือง คุ้มค่าในเชิงการใช้จ่ายงบประมาณ รับผิดชอบต่อการใช้เงินงบประมาณ ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม รัฐ รับผิดชอบต่อชุมชน/สังคมที่หน่วยงานตั้งอยู่ รับผิดชอบต่อผลกระทบจากการดำเนินงานต่อชุมชน/สังคม มีส่วนร่วมจากคนในชุมชน หรือสังคม ยึดถือประโยชน์ของชุมชน/สังคม ไม่เลือกปฏิบัติ สังคม ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย สิ่งแวดล้อม รับผิดชอบต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม ไม่ชัดกับกฎหมาย ระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน ด้าน องค์การ

14 ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
บริการด้วยความทันสมัย ตอบสนองความคาดหวังของผู้รับบริการ บริการด้วยความโปร่งใส ปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการกำหนดรูปแบบ ของการบริการ บริการด้วยความรวดเร็ว มีคุณภาพ บริการด้วยความซื่อสัตย์ ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม ด้วยความซื่อสัตย์ ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ปฏิบัติต่อทุกคนด้วยความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม ด้วยความโปร่งใส ด้วยความรวดเร็ว มีคุณภาพ ด้าน องค์การ ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน

15 ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
ด้าน องค์การ ความเสี่ยง มีระบบรองรับความเสี่ยงด้านต่างๆ เช่น ด้าน ยุทธศาสตร์ ด้านธรรมาภิบาล ด้านเทคโนโลยี ด้านกระบวนการ ด้านข้อมูล ด้านความปลอดภัย การกำกับดูแลที่ดี มีเครื่องมือ กลไก แนวทาง ระบบ ที่กำกับดูแล ติดตามผลการ ดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ มีเครื่องมือ กลไก แนวทาง ระบบที่กำกับการทำงานของ บุคลากรให้มีความโปร่งใส มีคุณธรรมและจริยธรรม มีระบบควบคุมด้านการเงินทีมีประสิทธิภาพ ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย การพัฒนาองค์การ มีการสร้างบรรยากาศ /วัฒนธรรมองค์กรที่ เอื้อต่อผลสำเร็จของงาน มีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับ การดำเนินงานขององค์กร ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน

16 ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
ด้าน ผู้ปฏิบัติงาน ความก้าวหน้าในอาชีพ ให้ความเสมอภาค / ไม่เลือกปฏิบัติ ดำเนินการด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม แสดงความรับผิดชอบต่อการบริหารงานบุคคล ให้ความเสมอภาค / ไม่เลือกปฏิบัติ ดำเนินการด้วยความโปร่งใส เป็นธรรม ดำเนินการอย่างมีวิสัยทัศน์ รองรับการเปลี่ยนแปลง รับผิดชอบต่อความคุ้มค่าของการดำเนินงาน การพัฒนาขีดความสามารถ ให้ความเสมอภาค / ไม่เลือกปฏิบัติ เปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วม ดำเนินการอย่างมีวิสัยทัศน์ รองรับการ เปลี่ยนแปลง มีอุปกรณ์ อาคารสถานที่ที่ทันสมัย สะอาด เหมาะสมและสนับสนุนต่อการปฏิบัติงาน ยกระดับคุณภาพชีวิต ในเรื่องต่างๆ ด้าน รัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต ด้าน ผู้รับบริการ และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย ด้าน องค์การ

17 นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน 1. นโยบายด้านรัฐ สังคมและสิ่งแวดล้อม กรมการพัฒนาชุมชนพึงส่งเสริมนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีด้านรัฐ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยจะดำเนินการ ดังนี้ นโยบายหลัก กรมการพัฒนาชุมชนมุ่งมั่นทำงานเพื่อตอบสนองนโยบายด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน เป็นแนวทางในการดำเนินงาน แนวทางปฏิบัติ (1) ยึดกรอบแนวคิดชุมชนแห่งความเกื้อกูลเพื่อตอบสนองนโยบายด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการบูรณาการพื้นที่ งบประมาณ และแผนปฏิบัติการ 17

18 นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน แนวทางปฏิบัติ (2) ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานทุนชุมชน ทุกรูปแบบ เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน (3) จัดการสื่อสารทั่วทั้งองค์กรเพื่อสร้างความเข้าใจให้เกิดการยอมรับและนำไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม (4) สร้างระบบสนับสนุน ดูแล และกำกับเพื่อป้องกันผลกระทบด้านลบต่อสังคม (5) กำหนดมาตรการ การใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า 18

19 นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน 2. นโยบายด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กรมการพัฒนาชุมชนพึงส่งเสริมนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีด้านผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยจะดำเนินการ ดังนี้.- นโยบายหลัก กรมการพัฒนาชุมชนมุ่งมั่นพัฒนาระบบการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างทั่วถึง เป็นธรรม โปร่งใส และรวดเร็ว แนวทางปฏิบัติ กำหนดให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามีส่วนร่วมในการปฏิบัติ ทุกขั้นตอน ดังนี้ (1) ทบทวนจัดลำดับความสำคัญความต้องการ และความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อดำเนินการตอบสนอง อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม 19

20 นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน แนวทางปฏิบัติ (2) ปรับปรุงกิจกรรมบริการให้สามารถตอบสนองความต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ (3) ติดตามประเมินผลการให้บริการ โดยการสำรวจความพึงพอใจ/ความไม่พึงพอใจ ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และโดยวิธีการอื่น 20

21 นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน 3. นโยบายด้านองค์การ กรมการพัฒนาชุมชนพึงส่งเสริมนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีด้านองค์การโดยจะดำเนินการ ดังนี้ นโยบายหลัก กรมการพัฒนาชุมชนมุ่งมั่นที่จะสร้างวัฒนธรรมและค่านิยมองค์การเพื่อผลสำเร็จของงาน แนวทางปฏิบัติ (1) ส่งเสริมการใช้ค่านิยมองค์การให้มีความก้าวหน้าไปสู่ระดับ ๓ การขับเคลื่อนการปฏิบัติตามค่านิยม(Drive) (2) ส่งเสริมการปฏิบัติตามจรรยาข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน (3) เน้นการทำงานโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมและบูรณาการ 21

22 นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน 4. นโยบายด้านผู้ปฏิบัติงาน กรมการพัฒนาชุมชนพึงส่งเสริมนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีด้านผู้ปฏิบัติงาน โดยจะดำเนินการ ดังนี้.- นโยบายหลัก กรมการพัฒนาชุมชนให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลชีวิตการทำงาน(Work Life Balance) แนวทางปฏิบัติ (1) จัดกิจกรรมเพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดี มีบรรยากาศอบอุ่น มีมิตรภาพในองค์กร และระหว่างองค์กร (2) จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ 22

23 นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบาย 4 ด้านของกรมการพัฒนาชุมชน แนวทางปฏิบัติ (3) จัดสภาพแวดล้อมที่ดีในสถานที่ทำงาน (4) จัดกิจกรรมสมดุลชีวิตการทำงาน 23

24 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การประชุมชี้แจง เพื่อเปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี กรมการพัฒนาชุมชน ผ่านระบบ Web Conference วันจันทร์ ที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๕.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google