ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ความหมายของการวางแผน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
Research Mapping.
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเฝ้าระวังกับนโยบายสังคม
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
หมวด2 9 คำถาม.
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แบบฟอร์ม - ERM I ดร.ทองม้วน นาเสงี่ยม ผู้เชี่ยวชาญ และที่ปรึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
WINTER 01 การบริหารความเสี่ยง ด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบสารสนเทศ
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
1 I K R S การประชุม เรื่อง “ การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ” วันพุธที่ 1 กันยายน 2547 โดย ผู้ช่วยอธิการบดี ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ.
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
หลักการเขียนโครงการ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
Change Management.
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มิติการพัฒนา องค์กร มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. จัดทำนโยบาย.
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก

ทำไมต้องวิเคราะห์ความเสี่ยงสภาพแวดล้อม การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลในกระบวนการวางแผนและ บริหารโครงการที่ผ่านมา ยังไม่ได้คำนึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม จากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ปัจจัยเสี่ยงทั้งจากภายในภายนอกที่จะส่งผลต่อความสำเร็จของโครงการ ทำให้ โครงการไม่บรรลุผลผลิตและผลลัพธ์ ส่งผลให้การใช้งบประมาณไม่เกิด ประสิทธิภาพได้ ประชาชนผู้ใช้ประโยชน์จากโครงการ จะไม่ได้รับประโยชน์ ตามเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ การวิเคราะห์ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยทั้งภายนอกและภายใน จึงเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้มีการวางแผนเตรียมพร้อม ในการดำเนินการให้ แผนงานโครงการ บรรลุผลลัพธ์ตามเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้

ขั้นตอนการจัดการความเสี่ยง ระบุปัจจัยเสี่ยง วิเคราะห์ความเสี่ยง (โอกาสและความรุนแรง) เลือกวิธีจัดการความเสี่ยง ติดตาม/ทบทวน

ปัจจัยเสี่ยงที่จะกระทบกับความสำเร็จของโครงการ ความเสี่ยงด้านการเมืองและสังคม ความเสี่ยงด้านการเงินและเศรษฐกิจ ความเสี่ยงด้านกฏหมาย ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี ความเสี่ยงด้านการดำเนินการ ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม/ภัยธรรมชาติ

ความเสี่ยงด้านการเมืองและสังคม ( ) ความต่อเนื่องในเชิงนโยบายของรัฐบาล ( ) การแทรกแซงจากบุคคลภายนอก ( ) การร่วมมือเชิงนโยบายระหว่างผู้บริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ( ) ความร่วมมือของผู้บริหารภายในองค์การ ( ) ความร่วมมือจากสหภาพแรงงานขององค์กร ( ) ความร่วมมือระหว่างกลุ่มของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือกลุ่มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( ) อื่น ๆ

ความเสี่ยงด้านการเงินและเศรษฐกิจ ( ) ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ( ) ความผันผวนของอัตราเงินเฟ้อ ( ) ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ( ) ความผันผวนของราคาวัตถุดิบ เช่น น้ำมัน วัสดุก่อสร้าง เหล็ก ฯลฯ ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ…...…….

ความเสี่ยงด้านกฎหมาย ( ) ความคลุมเครือของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ( ) การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบต่าง ๆ ( ) ความไม่มั่นใจในการบังคับใช้กฎหมาย ( ) กฎหมายไม่ครอบคลุม ( ) กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่ล้าหลังไม่ทันสมัย ไม่ทันการเปลี่ยนแปลง ( ) การเปลี่ยนแปลงมติที่เกี่ยวข้อง ( ) อื่น ๆ

ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี ( ) การเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม ( ) การล้าหลังของเทคโนโลยีเนื่องจากมีเทคโนโลยีใหม่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ( ) ความผิดพลาดของเทคโนโลยีที่ใหม่จนเกินไป ( ) อื่น ๆ

ความเสี่ยงด้านการดำเนินการ ( ) การขาดแคลนบุคลากร ( ) การขาดแคลนทรัพยากร ( ) การขาดแคลนวัตถุดิบ ( ) ความไม่แน่นอนของความต้องการ (อุปสงค์) ของผลผลิต โครงการในตลาด ( ) ความไม่แน่นอนของการได้รับงบประมาณในแต่ละปี ( ) ไม่ได้รับจัดสรรงบประมาณตามที่เสนอโครงการ ( ) การเปลี่ยนแปลงบุคลากรที่ดำเนินการ ( ) กลไกในการดำเนินงานไม่เหมาะสม ( ) อื่น ๆ โปรดระบุ…...…….

ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม/ภัยธรรมชาติ ( ) การก่อความไม่สงบ ( ) สงคราม ( ) น้ำท่วม ( ) พายุไต้ฝุ่น ( ) โคลนถล่ม ( ) แผ่นดินไหว ( ) ภัยแล้ง ( ) โรคระบาด ( ) อื่น ๆ

การวิเคราะห์ความเสี่ยง มิติในการประเมินความเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน โอกาสในการเกิดความเสี่ยง สูง หรือ ต่ำ ระดับความรุนแรง ยอมรับได้ ยอมรับไม่ได้ ความสามารถในการบริหารจัดการ * จัดการได้ หมายถึง การจัดการความเสี่ยงจนระดับความรุนแรงอยยู่ในระดับที่ยอมรับได้ จัดการได้* จัดการไม่ได้

การประเมินความเสี่ยง โอกาสในการเกิดความเสี่ยง ต่ำ สูง สูง (ยอมรับไม่ได้) โอกาสในเกิด (ต่ำ) ผลกระทบ (สูง ยอมรับไม่ได้) โอกาสในเกิด (สูง) ผลกระทบ (สูงยอมรับไม่ได้) ผลกระทบ (ต่ำ ยอมรับได้) ความรุนแรง ของผลกระทบ ต่ำ (ยอมรับได้)

ลดความเป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ การจัดการความเสี่ยง หมายถึง แนวทางการบริหารจัดการเพื่อ ลดความเป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์ ที่ตรงข้ามกับที่คาดการณ์ไว้ (adverse event) ลดขนาดของการสูญเสีย อันเนื่องจาก adverse event

ทางเลือกในการจัดการความเสี่ยง (1) ลดความรุนแรงของความเสี่ยง (Risk Reduction) ลดระดับความรุนแรง ลดความเป็นไปได้ในการเกิด การโอนถ่ายความเสี่ยง (Risk Transfer) โอนถ่ายโดยใช้สัญญา (Contractual Transfer) เช่น จ้างผู้ดำเนินการภายนอก (outsourcing) โอนถ่ายโดยใช้การทำประกัน (Insurance)

ทางเลือกในการจัดการความเสี่ยง (2) การแบ่งรับความเสี่ยง (Risk Sharing) คือ การถ่ายทอดความเสี่ยงบางส่วนให้ผู้อื่น/หน่วยงานอี่นร่วมกับผิดชอบ เมื่อเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยงขึ้นจะต้องรับผิดชอบผลกระทบร่วมกัน ซึ่งการแบ่งรับความเสี่ยงอาจจะทำได้โดยกลไกของสัญญา เช่น หน่วยงานเจ้าของโครงการอาจจะกำหนดไว้ในสัญญาจ้างว่า หากผลกระทบจากความเสี่ยงบางตัว (ต้นทุนที่ผันผวน เป็นต้น) ที่เกิดขึ้น คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมกันรับผิดชอบ การกระจายความเสี่ยง (Risk Diversification) คือ การใช้วิธีการดำเนินงานโครงการที่สามารถทำให้ความเสี่ยงกระจายออกเป็นหลายส่วน ซึ่งจะทำให้ความเสี่ยงที่แบ่งออกเป็นหลายภาคส่วนเหล่านั้น มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน เช่น การใช้วัตถุดิบจากแหล่งผลิตหลายแหล่ง การใช้เทคโนโลยีหลากหลายแบบ เป็นต้น

ทางเลือกในการจัดการความเสี่ยง (3) การแบกรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) คือ การที่หน่วยงานเจ้าของโครงการแบกรับความเสี่ยงไว้จัดการเองภายในหน่วยงาน การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) ความเสี่ยงที่ไม่สามารถใช้วิธีการต่าง ๆ ข้างต้นในการจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงควรจะใช้วิธีการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง เช่น การหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่มีความเสี่ยง เปลี่ยนวิธีการดำเนินการที่ใช้อยู่เป็นวิธีอื่น เป็นต้น นอกจากแนวทางการจัดการความเสี่ยงดังกล่าวข้างต้น การจัดการความเสี่ยงยังรวมถึงการสร้างระบบเฝ้าระวัง มีสัญญาณเตือนภัย รวมถึงการมีแผนฉุกเฉิน (เช่น แผนอพยพ เป็นต้น) รองรับการดำเนินการด้วย

จบการนำเสนอ ขอขอบคุณ