คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ. การวิจัยในบทบาทของ คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ประเด็นคัดสรรเพื่อการเรียนรู้ ภารกิจอาจารย์อุดมศึกษา การวิจัยเพื่อพัฒนางานระดับอุดมศึกษา สรุปประเภทและตัวอย่างงานวิจัย การวิจัยและพัฒนา การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ : วิจัยในชั้นเรียน วิเคราะห์บริบทการจัดการศึกษา ตัวอย่างงานวิจัยระดับอุดมศึกษา 1 2 Best Practice ซักถาม ติดต่อ
หน้าที่ใดสำคัญที่สุด ทำให้มหาวิทยาลัยอยู่รอด บทบาทของมหาวิทยาลัย 1. สอน ผลิตบัณฑิต 2. วิจัย สร้างองค์ความรู้ 3. บริการทางวิชาการ 4. ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม หน้าที่ใดสำคัญที่สุด ทำให้มหาวิทยาลัยอยู่รอด
ภารกิจอาจารย์อุดมศึกษา สอน ผลิตบัณฑิต วิจัย สร้างองค์ความรู้ งานสร้างสรรค์ บริการทางวิชาการ งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม งานบริหารจัดการ การร่วมมือกับคณะ มหาวิทยาลัย
หน้าที่ 1… สอน 1.1 ปฏิบัติการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1.2 พัฒนาและประเมินหลักสูตร 1.3 วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
หน้าที่ 2....วิจัย 1. วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ -วิจัยและพัฒนากระบวนการสอน/เทคนิคการสอนใหม่ ๆ -วิจัยและพัฒนาสื่อ/ชุดสื่อ ประกอบการสอน 2. สังเคราะห์/สร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในสาขาวิชา 3. วิจัยประยุกต์เพื่อพัฒนาชุมชน/สังคม/ประเทศ 4. วิจัยบริการทางวิชาการตามความต้องการของสังคม
หน้าที่ 3 บริการทางวิชาการ วิทยากรบรรยาย ให้ความรู้ เป็นที่ปรึกษาองค์กร/หน่วยงานต่าง ๆ นำเสนอความรู้สู่ชุมชนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บทความผ่านวารสาร บทความผ่านเว็บไซด์ นำเสนอผลงานวิจัยต่อสาธารณะ จัดรายการวิทยุ/โทรทัศน์ ฯลฯ ฯลฯ
หน้าที่ 4 ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม เป็นกรรมการสมาคม ชมรม ที่มีบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ร่วมในกิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม นำศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นเข้าสู่หลักสูตรการเรียนการสอน ศึกษา ค้นคว้า วิจัย ที่เป็นประโยชน์ต่อการสืบสานความเป็นไทย ประยุกต์ใช้ผลการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาวิถีชีวิตของชุมชน/ชี้นำสังคม
หน้าที่ 5 ร่วมมือกับสถาบันเพื่อการพัฒนางาน หน้าที่ 5 ร่วมมือกับสถาบันเพื่อการพัฒนางาน ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งบริหารในองค์กร เป็นกรรมการด้านต่าง ๆ ร่วมรับผิดชอบงานพิเศษต่าง ๆ ฯลฯ
เฉพาะด้านการวิจัย... การวิจัย 1 เรื่อง อาจสนองได้ 3-4 หน้าที่
ในอนาคต.............. อาจารย์แต่ละคน จะต้องดำเนินงานตามภารกิจอย่างครอบคลุม ครบถ้วน การประเมินการปฏิบัติงาน จะมุ่งเน้น “ผลงาน”มากขึ้น
ทำงานอย่างประกันคุณภาพ มีค่านิยมในการทำงานหนัก ชาวมหาวิทยาลัย ต้อง.............. ทำงานอย่างประกันคุณภาพ มีค่านิยมในการทำงานหนัก
การประเมินการปฏิบัติงาน….ในอดีต ก. ให้ความสำคัญกับ “พฤติกรรมการทำงาน” “มุ่งมั่น ทุ่มเท เสียสละ” ควบคู่กับ ข. ผลงาน/คุณภาพงาน ผู้ได้ 2 ขั้น คือ กลุ่มไหน
ในอนาคต..ประเมินแบบมุ่งเน้นผลงาน การประเมินในอนาคตจะเน้น “ประเมินแบบมุ่งเน้นผลงาน” “แจงนับผลงาน” การประเมินจะ “มุ่งส่งเสริมการพัฒนาและแข่งขันแบบเสรี” คือ “ทำงานมากได้ผลตอบแทนมาก” “ไม่กำหนดขีดจำกัดบน แต่เน้นกำหนดขีดจำกัดล่าง”
ตัวอย่าง...การตีค่าภาระงาน/ผลงาน สอนภายในมหาวิทยาลัย 1 ชั่วโมง เท่ากับ 5 ภาระงาน สอนภายนอกมหาวิทยาลัย 1 ชั่วโมง เท่ากับ 2 ภาระงาน คุมวิทยานิพนธ์ จบ 1 คน เท่ากับ 200 ภาระงาน เขียนตำรา/ประมวลสาระ 1 หน่วย เท่ากับ 300 ภาระงาน ออกข้อสอบ 1 ข้อ เท่ากับ 2 ภาระงาน วิจัย เสร็จ 1 เรื่อง เท่ากับ 300-1000 ภาระงาน เขียนบทความ 1 บท เท่ากับ 60 ภาระงาน อำนวยการหลักสูตรฝึกอบรม 1 หลักสูตร..200 ภาระงาน
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 1 เรื่อง เท่ากับ ………………………...200 ภาระงาน วิจัยโดยงบประมาณของมหาวิทยาลัย 1 เรื่อง เท่ากับ ..………………………300 ภาระงาน วิจัยโดยได้รับทุนสนับสนุนจากองค์กรภายนอก ในวงเงินมากกว่า 800,000 บาท 1 เรื่อง เท่ากับ ……………………… 800-1000 ภาระงาน
ต้องได้เฉลี่ยเดือนละไม่ต่ำกว่า จัดทำรายงานการประเมินตนเอง 350 ภาระงาน สิ้นปีต้อง..... จัดทำรายงานการประเมินตนเอง
รายงานผลงาน ปี 2553 รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ รายงานผลงาน ปี 2553 รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ ( 740,000 บาท) สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2553
รายงาน สาระในรายงาน ควรประกอบด้วยกี่ตอน อะไรบ้าง
สารบัญ ส่วนที่ 1 งานสอน -ปริมาณงานสอน -งานสร้างสรรค์ในการสอน ส่วนที่ 2 งานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ ส่วนที่ 3 งานบริการทางวิชาการ ส่วนที่ 4 งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ส่วนที่ 5 งานร่วมมือกับสาขาวิชา และมหาวิทยาลัย
แนบท้ายรายงานประจำปี PORTFOLIOS จัดทำ "แฟ้มสะสมงาน" แนบท้ายรายงานประจำปี
บริบท/ภาวะแวดล้อมการจัดการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน สังคม ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การมีส่วนร่วม ทวิภาคี ไตรภาคี การพัฒนา และใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ภูมิปัญญาไทย งานสร้างสรรค์ในการสอน เรียนรู้จากโครงงานในชุมชน พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง : จัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบบูรณาการ บูรณาการการสอนกับบริการทางวิชาการ บูรณาการการสอนกับการวิจัย บูรณาการการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยต้องเลี้ยงตัวเองมากขึ้น