คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Advertisements

กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
สถานการณ์สำรวจอนามัยและสวัสดิการ (สอส.) ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัดที่ 7 สารพิษตกค้างในอาหาร จังหวัดยโสธร ปี
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
กนกพร อธิสุข สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหร
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินงานด่านอาหารและยาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2556
การศึกษาความพึงพอใจของ
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดทำฉลากเคมีภัณฑ์
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
Food and drug administration
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ตัวชี้วัดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
กลุ่มติดตาม ตรวจสอบ อาหาร เครื่องสำอาง และ วัตถุอันตราย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การประเมินความเสี่ยงและการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสำอาง โดย เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้อำนวยการกองควบคุมเครื่องสำอาง.
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ความร่วมมือเครือข่ายภาคอีสาน กับคุณภาพนมโรงเรียนปี 2553
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
โครงการ ร้านก๋วยเตี๋ยวมาตรฐาน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( ใ น พื้ น ที่ เ ข ต เ ท ศ บ า ล น ค ร สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี )
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การเก็บตัวอย่างอาหาร (สำหรับงานตรวจสอบ) กรณีร้องเรียน, กรณีพิเศษ, กรณีเร่งด่วน จากสถานที่ผลิตอาหาร, จำหน่ายอาหาร, นำเข้า กลุ่มกำกับดูแลหลังออกสู่ตลาด สำนักอาหาร.
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม การสำรวจสถานการณ์การปนเปื้อน ของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก ณ แหล่งจำหน่ายขายส่งทั่วประเทศ นครินทร์ ภระมรทัต กองควบคุมอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ความเป็นมา ที่มา : ข้อมูลจากโครงการหน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร 2543 - 2548

ความเป็นมา กราฟแสดงแนวโน้มการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในอาหาร ระหว่างปีงบประมาณ 2543 - 2548 ที่มา : ข้อมูลจากโครงการหน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร 2543 - 2548

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทราบถึงสถานการณ์ความปลอดภัยของผักที่จำหน่ายภายในประเทศ 2. ใช้เป็นข้อมูลในการวางกลยุทธ์เพื่อลดอันตรายและแก้ไขปัญหาให้ครบทั้งวงจร ตั้งแต่ผู้ผลิตถึงผู้บริโภค

ขอบเขตการวิจัย พื้นที่ : ครอบคลุมแหล่งจำหน่ายขายส่งจากทั่วประเทศ ผู้ปฏิบัติงาน : เจ้าหน้าที่หน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่ส่วนกลาง (อย.) และส่วนภูมิภาค 12 กลุ่ม ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ทั่วประเทศ การตรวจวิเคราะห์ : ชุดทดสอบเบื้องต้น GT ที่ตรวจระดับความเป็นพิษของสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในผัก (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์)

เกณฑ์การสุ่มและชนิดของตัวอย่างผัก 1. มะเขือเปราะ 2. ผักคะน้า 3. พริกสด 4. แตงกวา 5. ผักกวางตุ้ง สุ่มเก็บตัวอย่างผัก 10 ชนิดที่มีการบริโภคสูงสุด (กรมส่งเสริมการเกษตร,2547) สุ่มเก็บตัวอย่างผักอย่างน้อย ชนิดละ 50 ตัวอย่าง/กลุ่ม รวม 500 ตัวอย่าง/กลุ่ม 6. ผักกาดขาว 7. ถั่วฝักยาว 8. ผักบุ้งจีน 9. ดอกกะหล่ำ 10. กะหล่ำปลี

ขั้นตอนการวิจัย วางแผนงาน (Plan) ปรับปรุง (Action) ปฏิบัติงาน (DO) เสนอสรุปสถานการณ์ แก่ผู้บริหาร ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล จัดทำแผนการวิจัย สรุปสถานการณ์ทั่วประเทศ ปฏิบัติงาน (DO) ตรวจสอบ (Check) วิเคราะห์ข้อมูลทั่วประเทศ ทดสอบวิจัยตามแผน คัดเลือกพื้นที่ ตรวจวิเคราะห์ รวบรวม/ตรวจสอบข้อมูลทั่วประเทศ เก็บตัวอย่าง ลงผลข้อมูล

ขั้นตอนการวิจัย (ต่อ) ปฏิบัติงาน (DO) ทดสอบวิจัยตามแผน คัดเลือกพื้นที่ เก็บตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ ลงผลข้อมูล หลักการของโคลีนเอสเตอเรส อินฮิบิชั่นเทคนิค ตรวจระดับความเป็นพิษของสารตกค้าง กลุ่มสารประกอบฟอสเฟต และ/หรือสารคาร์บาเมท โดยจะยอมให้มีปริมาณสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในผัก ไม่เกินค่าที่มีผลทำให้เอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส มีประสิทธิภาพการทำงานลดลงตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป

เก็บตัวอย่างผัก 10 ชนิด ณ แหล่งจำหน่ายขายส่งทั่วประเทศ

กราฟแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ) ผลการวิจัย กราฟแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ) ตัวอย่างทั้งหมด 8,974 ตัวอย่าง ปนเปื้อนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 850 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 9.47

อันดับที่ 1 มะเขือเปราะ สรุปผลการวิจัย อันดับที่ 1 มะเขือเปราะ ร้อยละ 14.30(113/790) อันดับที่ 2 พริกสด ร้อยละ 14.08 (166/1,179) อันดับที่ 3 ผักคะน้า ร้อยละ 13.24 (138/1,042) จากทัศนคติของผู้บริโภคที่นิยมบริโภคผักที่ไม่มีร่องรอยของแมลงกิน อาหารตาและอาหารปาก

ข้อเสนอแนะ 1.เฝ้าระวังความปลอดภัยผักทั้งประเทศ 2.พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และจิตสำนึกที่ถูกต้องในการผลิต/บริโภค ให้กับผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และผู้บริโภค 3.ส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยจากสารพิษ 4.สร้างเครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน 5.กำหนดมาตรการจัดการด้านกฎหมายอย่างจริงจัง 6.เชื่อมโยงเครือข่ายฐานข้อมูลเพื่อการกำกับ ดูแลผักปลอดภัย

คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม ขอบคุณครับ

ตารางแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ) สรุปผลการวิจัย ตารางแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ) ลำดับที่ ประเภทตัวอย่าง จำนวนทั้งหมด ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ร้อยละ 1 มะเขือเปราะ 790 113 14.30 2 พริกสด 1,179 166 14.08 3 ผักคะน้า 1,042 138 13.24 4 ถั่วฝักยาว 763 76 9.96 5 ผักกวางตุ้ง 792 77 9.72 6 แตงกวา 838 69 8.23 7 ดอกกะหล่ำ 681 49 7.20 8 กะหล่ำปลี 1,045 6.60 9 ผักกาดขาว 1,164 5.93 10 ผักบุ้งจีน 680 24 3.53 รวม 8,974 850 9.47