คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม การสำรวจสถานการณ์การปนเปื้อน ของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก ณ แหล่งจำหน่ายขายส่งทั่วประเทศ นครินทร์ ภระมรทัต กองควบคุมอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ความเป็นมา ที่มา : ข้อมูลจากโครงการหน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร 2543 - 2548
ความเป็นมา กราฟแสดงแนวโน้มการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในอาหาร ระหว่างปีงบประมาณ 2543 - 2548 ที่มา : ข้อมูลจากโครงการหน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร 2543 - 2548
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทราบถึงสถานการณ์ความปลอดภัยของผักที่จำหน่ายภายในประเทศ 2. ใช้เป็นข้อมูลในการวางกลยุทธ์เพื่อลดอันตรายและแก้ไขปัญหาให้ครบทั้งวงจร ตั้งแต่ผู้ผลิตถึงผู้บริโภค
ขอบเขตการวิจัย พื้นที่ : ครอบคลุมแหล่งจำหน่ายขายส่งจากทั่วประเทศ ผู้ปฏิบัติงาน : เจ้าหน้าที่หน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่ส่วนกลาง (อย.) และส่วนภูมิภาค 12 กลุ่ม ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ทั่วประเทศ การตรวจวิเคราะห์ : ชุดทดสอบเบื้องต้น GT ที่ตรวจระดับความเป็นพิษของสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในผัก (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์)
เกณฑ์การสุ่มและชนิดของตัวอย่างผัก 1. มะเขือเปราะ 2. ผักคะน้า 3. พริกสด 4. แตงกวา 5. ผักกวางตุ้ง สุ่มเก็บตัวอย่างผัก 10 ชนิดที่มีการบริโภคสูงสุด (กรมส่งเสริมการเกษตร,2547) สุ่มเก็บตัวอย่างผักอย่างน้อย ชนิดละ 50 ตัวอย่าง/กลุ่ม รวม 500 ตัวอย่าง/กลุ่ม 6. ผักกาดขาว 7. ถั่วฝักยาว 8. ผักบุ้งจีน 9. ดอกกะหล่ำ 10. กะหล่ำปลี
ขั้นตอนการวิจัย วางแผนงาน (Plan) ปรับปรุง (Action) ปฏิบัติงาน (DO) เสนอสรุปสถานการณ์ แก่ผู้บริหาร ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล จัดทำแผนการวิจัย สรุปสถานการณ์ทั่วประเทศ ปฏิบัติงาน (DO) ตรวจสอบ (Check) วิเคราะห์ข้อมูลทั่วประเทศ ทดสอบวิจัยตามแผน คัดเลือกพื้นที่ ตรวจวิเคราะห์ รวบรวม/ตรวจสอบข้อมูลทั่วประเทศ เก็บตัวอย่าง ลงผลข้อมูล
ขั้นตอนการวิจัย (ต่อ) ปฏิบัติงาน (DO) ทดสอบวิจัยตามแผน คัดเลือกพื้นที่ เก็บตัวอย่าง ตรวจวิเคราะห์ ลงผลข้อมูล หลักการของโคลีนเอสเตอเรส อินฮิบิชั่นเทคนิค ตรวจระดับความเป็นพิษของสารตกค้าง กลุ่มสารประกอบฟอสเฟต และ/หรือสารคาร์บาเมท โดยจะยอมให้มีปริมาณสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในผัก ไม่เกินค่าที่มีผลทำให้เอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส มีประสิทธิภาพการทำงานลดลงตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป
เก็บตัวอย่างผัก 10 ชนิด ณ แหล่งจำหน่ายขายส่งทั่วประเทศ
กราฟแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ) ผลการวิจัย กราฟแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ) ตัวอย่างทั้งหมด 8,974 ตัวอย่าง ปนเปื้อนสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 850 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 9.47
อันดับที่ 1 มะเขือเปราะ สรุปผลการวิจัย อันดับที่ 1 มะเขือเปราะ ร้อยละ 14.30(113/790) อันดับที่ 2 พริกสด ร้อยละ 14.08 (166/1,179) อันดับที่ 3 ผักคะน้า ร้อยละ 13.24 (138/1,042) จากทัศนคติของผู้บริโภคที่นิยมบริโภคผักที่ไม่มีร่องรอยของแมลงกิน อาหารตาและอาหารปาก
ข้อเสนอแนะ 1.เฝ้าระวังความปลอดภัยผักทั้งประเทศ 2.พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และจิตสำนึกที่ถูกต้องในการผลิต/บริโภค ให้กับผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และผู้บริโภค 3.ส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยจากสารพิษ 4.สร้างเครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน 5.กำหนดมาตรการจัดการด้านกฎหมายอย่างจริงจัง 6.เชื่อมโยงเครือข่ายฐานข้อมูลเพื่อการกำกับ ดูแลผักปลอดภัย
คุ้มครองผู้บริโภคก้าวไกล คนไทยมีส่วนร่วม ขอบคุณครับ
ตารางแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ) สรุปผลการวิจัย ตารางแสดงร้อยละการปนเปื้อนของสารเคมีฆ่าแมลงในผัก 10 ชนิด (ทั่วประเทศ) ลำดับที่ ประเภทตัวอย่าง จำนวนทั้งหมด ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ร้อยละ 1 มะเขือเปราะ 790 113 14.30 2 พริกสด 1,179 166 14.08 3 ผักคะน้า 1,042 138 13.24 4 ถั่วฝักยาว 763 76 9.96 5 ผักกวางตุ้ง 792 77 9.72 6 แตงกวา 838 69 8.23 7 ดอกกะหล่ำ 681 49 7.20 8 กะหล่ำปลี 1,045 6.60 9 ผักกาดขาว 1,164 5.93 10 ผักบุ้งจีน 680 24 3.53 รวม 8,974 850 9.47