ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
สงขลา , ตรัง , พัทลุง , ยะลา , ปัตตานี , สตูล
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผลการประชุมกลุ่ม การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้ม แข้งแบบยั่งยืน Communicate risk and Develop health behaviors Group เขตสำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 9 พิษณุโลก.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ประเด็นการประชุมกลุ่ม
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การสร้างและพัฒนา เครือข่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อผลักดัน นโยบายการป้องกัน ควบคุมโรคในพื้นที่ รับผิดชอบของ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ขอต้อนรับเข้าสู่การนำเสนอ ของกลุ่ม 2 ซึ่งประกอบไปด้วย หน่วยงานดังนี้ 1. สำนักงานป้องกัน ควบคุมโรคที่ 1 2. สำนักเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์ 3. สำนักโรคไม่ติดต่อ.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๑๑. คุณพิจิตราฤทธิ์ ประภา ๑๒. คุณพดาลิมปสายชล ๑๓. คุณศิริชัยพุทธศิริ ๑๔. คุณอัครวุฒิศุภ อักษร ๑๕. คุณจันทิราโกมล ๑๖. คุณพนารัตน์ตัณฑ์ ไพบูลย์ ๑๗. คุณสมพรน้อยฉ่ำ.
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 6 ที่ปรึกษา ท่านผู้ทรงคุณวุฒิฯนางสุจิตรา อังคศรีทองกุล ประธาน คุณพิชัย คชพิมพ์ ผู้อำนวยการสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย จังหวัดร้อยเอ็ด.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ประธาน นายสุริน รักษาแก้ว เลขา คุณสุนันทา รอดสม ผู้นำเสนอ นายเบญพล ใหม่ชู
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5

ข้อเสนอจากที่ประชุม การดูแลงบประมาณให้ทั่วถึง มีการติดตามการ ทำงาน การส่งข้อมูลข่าวสารให้ถึงประชาชน โดย ผ่านสื่อวิทยุหลัก / ชุมชน หนังสือพิมพ์ ทีวี เคเบิ้ล ทีวี ศิลปินพื้นบ้าน อสม. ผู้นำชุมชน กำนัน - ผู้ใหญ่บ้าน อบต. วิทยุชุมชนเป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงประชาชน ได้มากที่สุด สามารถเป็นศูนย์เตือนภัยได้ในทุก เรื่อง เช่น กรณีการเตือนภัยน้ำท่วม เป็นต้น จัดตั้งเครือข่ายแต่ละจังหวัดเพื่อประสานงาน ระหว่างสื่อและ สคร. 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การ ทำงานด้านสื่อสารประชาสัมพันธ์

จุดแข็งมีหน่วยงานเครือข่ายเดิมที่ ทำงานร่วมกันอยู่แล้ว จุดอ่อนการส่งต่อข้อมูลที่ไม่ทั่วถึงและ งบประมาณ 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การ ทำงานด้านสื่อสารประชาสัมพันธ์

2. ทำความเข้าใจแนวคิดและประโยชน์ของ การสื่อสารประชาสัมพันธ์ ต่อการพัฒนา ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ กรณีการพัฒนาอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน 3. วางแผนแนวทางการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้มแข็งของ ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ กรณีการพัฒนา อำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน เช่น ช่องทางการ สื่อสารในแต่ละระดับ

ข้อเสนอจากที่ประชุม  จัดเจ้าหน้าที่และงบประมาณลงใน ทุกอำเภอ  สื่อทุกสื่อและประชาชนมีส่วนร่วมใน การทำงานร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายใน แนวทางเดียวกัน ทำความเข้าใจจากทั้งในระดับ กระทรวง เขต จังหวัด สื่อ  พัฒนาเครือข่ายด้านองค์ความรู้ ประชุมวิชาการ เสวนา ประชาคม

ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 1. การพัฒนาความเข้มแข็งของหน่วยงานเครือข่าย เดิม 2. การพัฒนาเครือข่ายสื่อมวลชนในด้านองค์ ความรู้เรื่องโรคและด้านการดูแลสุขภาพ 3. การพัฒนาช่องทางการสื่อสาร โดยแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ การสื่อสารจากกรมฯไปยังสื่อ การ สื่อสารจากสื่อไปยังประชาชน 4. การติดตามและประเมินผลการทำงาน การ ประเมินผลการรับรู้ของประชาชนในส่วนของ ข้อมูลข่าวสารที่สื่อให้ประชาชนไป 5. ความยั่งยืนของการทำงานร่วมกันด้านสุขภาพ  ความยั่งยืนของการทำงานของสื่อกับ ประชาชน  การได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณ