ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5
ข้อเสนอจากที่ประชุม การดูแลงบประมาณให้ทั่วถึง มีการติดตามการ ทำงาน การส่งข้อมูลข่าวสารให้ถึงประชาชน โดย ผ่านสื่อวิทยุหลัก / ชุมชน หนังสือพิมพ์ ทีวี เคเบิ้ล ทีวี ศิลปินพื้นบ้าน อสม. ผู้นำชุมชน กำนัน - ผู้ใหญ่บ้าน อบต. วิทยุชุมชนเป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงประชาชน ได้มากที่สุด สามารถเป็นศูนย์เตือนภัยได้ในทุก เรื่อง เช่น กรณีการเตือนภัยน้ำท่วม เป็นต้น จัดตั้งเครือข่ายแต่ละจังหวัดเพื่อประสานงาน ระหว่างสื่อและ สคร. 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การ ทำงานด้านสื่อสารประชาสัมพันธ์
จุดแข็งมีหน่วยงานเครือข่ายเดิมที่ ทำงานร่วมกันอยู่แล้ว จุดอ่อนการส่งต่อข้อมูลที่ไม่ทั่วถึงและ งบประมาณ 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การ ทำงานด้านสื่อสารประชาสัมพันธ์
2. ทำความเข้าใจแนวคิดและประโยชน์ของ การสื่อสารประชาสัมพันธ์ ต่อการพัฒนา ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ กรณีการพัฒนาอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน 3. วางแผนแนวทางการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้มแข็งของ ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ กรณีการพัฒนา อำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน เช่น ช่องทางการ สื่อสารในแต่ละระดับ
ข้อเสนอจากที่ประชุม จัดเจ้าหน้าที่และงบประมาณลงใน ทุกอำเภอ สื่อทุกสื่อและประชาชนมีส่วนร่วมใน การทำงานร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายใน แนวทางเดียวกัน ทำความเข้าใจจากทั้งในระดับ กระทรวง เขต จังหวัด สื่อ พัฒนาเครือข่ายด้านองค์ความรู้ ประชุมวิชาการ เสวนา ประชาคม
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 1. การพัฒนาความเข้มแข็งของหน่วยงานเครือข่าย เดิม 2. การพัฒนาเครือข่ายสื่อมวลชนในด้านองค์ ความรู้เรื่องโรคและด้านการดูแลสุขภาพ 3. การพัฒนาช่องทางการสื่อสาร โดยแบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ การสื่อสารจากกรมฯไปยังสื่อ การ สื่อสารจากสื่อไปยังประชาชน 4. การติดตามและประเมินผลการทำงาน การ ประเมินผลการรับรู้ของประชาชนในส่วนของ ข้อมูลข่าวสารที่สื่อให้ประชาชนไป 5. ความยั่งยืนของการทำงานร่วมกันด้านสุขภาพ ความยั่งยืนของการทำงานของสื่อกับ ประชาชน การได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณ