เป้าประสงค์ 1 เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) 2 ส่งเสริมให้ภาคสาธารณสุขแสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
เศรษฐกิจ พอเพียง.
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2554 นางฉันทนา ลิ้มนิรันดร์กุล สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
การประชุม Mahidol Eco University (การบริหารจัดการขยะ) ครั้งที่ 7
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
Ecodesign นำเสนอ โดย นายนราวิชญ์ รุ่งเดช เลขที่ 25
การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลพะโต๊ะ อ.พะโต๊ะ จ.ชุมพร
โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2555.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
จัดทำโดย ด.ช.วริศ วิโรจนวัธน์
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
G Garbage.
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
โรงพยาบาลหนองวัวซอ จ.อุดรธานี วันที่ 29 กรกฎาคม 2554
สาธารณสุขร่วมใจลดภัยโลกร้อน ภายใต้แนวคิดของกรมอนามัย GREEN & CLEAN
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
รูปแบบ/ประเภทเกษตรกรรมยั่งยืน และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
เกษตรทฤษฎีใหม่.
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
ศูนย์การเรียนรู้ลดโลกร้อน
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
COMMUNITY BASED SOLID WASTE MANAGEMENT
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
มารู้จัก “ขยะมูลฝอย” กันเถอะ
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
สภาวะโลกร้อน ร้อน จัดทำโดย นายอรรถพล เพ็งพันธ์. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซี่งปรากฏการณ์ทั้งหลายเกิดจากภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมา จากการปล่อยก๊าซพิษต่าง.
การใช้ Green ICT ในองค์กร แบบพอเพียง
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน ด้วยการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

เป้าประสงค์ 1 เพื่อให้ภาคสาธารณสุข ตระหนักถึงปัญหา และ ร่วมมือในการลด GHG (green house gas) 2 ส่งเสริมให้ภาคสาธารณสุขแสดงจิตสาธารณะ ในการร่วมลดโลกร้อนด้วยการลดการปลดปล่อย GHG 3 เน้นกิจกรรมการพัฒนาการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆกับกิจกรรมอื่นๆ (ได้แก่กิจกรรม GREEN) เป็นเครื่องมือในการลด GHG 4 หาปริมาณ Carbon Footprint เพื่อใช้เป็นดัชนีชีวัดความสำเร็จและเป็นเครื่องมือการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน

ปชช ตระหนักร่วมลดโลกร้อน ต้นแบบเพื่อการขับเคลื่อน แนวคิดการดำเนินงาน SuSan Strategy Setting ปชช ตระหนักร่วมลดโลกร้อน ชุมชน ทำอะไร ทำอย่างไร ทำที่ไหน ต้นแบบเพื่อการขับเคลื่อน การขยายผล GREEN CLEAN HOSPITAL อสม & Network

Reduce ลดการใช้ทรัพยากร G garbage การจัดการมูลฝอยและการใช้ประโยชน์จากสิ่งปฏิกูล เน้นหลักการ 3R (Reduce Reuse Recycle) Reduce ลดการใช้ทรัพยากร - ลดการใช้กระดาษ : ใช้อินเตอร์เน็ต - ลดการใช้พลาสติก : ใช้ถุงผ้า แก้วน้ำ ปิ่นโต - งดการใช้กล่องโฟม : ขวดน้ำดื่มในการประชุม - มาตรการคืนซากอุปกรณ์ - ซื้อของชนิดเติม หรือขนาดใหญ่เพื่อลดบรรจุภัณฑ์

Reuse การนำกลับมาใช้ซ้ำ มีนวัตกรรมหลากหลายมากมาย - ขวดน้ำมาประดิษฐ์โคมไฟ, เครื่องเป่าปอด, ใส่ EM - กระป๋องนม นำกลับมาทำโคมไฟ ตะเกียง - ใช้กระดาษ A4 ให้ครบ 2 หน้า - ซองกระดาษ A 4 มาพับเป็นถุงใส่ของ - นำผ้าปูเตียง (เก่า) มาทำผ้าเช็ดมือ - ฯลฯ

Recycle การแปรรูปของที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ - กองทุนขยะรีไซเคิล - ผ้าป่าขยะรีไซเคิล

ผลผลิตที่เป็นประโยชน์จากการจัดการขยะ การผลิตก๊าซชีวภาพ (Biogas) นำของเสีย หรือของที่เหลือทิ้ง ในรูปของสารอินทรีย์ต่างๆ เช่น มูลสัตว์ เศษอาหาร และ สารอินทรีย์อื่นๆ มาหมักทิ้งไว้ให้เกิดการย่อยสลายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิเจน(anaerobic digestion) จะได้ก๊าซชีวภาพ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ในขณะเดียวกันก็ยังได้ปุ๋ยอินทรีย์ซึ่งมีสารอาหารในปริมาณที่สูง เป็นผลพลอยได้ของระบบและสามารถนำไปใช้หรือขายให้กับเกษตรกรได้

การผลิตน้ำหมักชีวภาพ/ ปุ๋ยหมัก

ไส้เดือนดินกินขยะ

การนำกลับมาใช้ประโยชน์ R Rest room การจัดการส้วม สมุนไพร ลดการใช้สารเคมี การนำกลับมาใช้ประโยชน์ HAS

E = การใช้ พลังงานของหน่วยบริการ Energy ประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทน E = การใช้ พลังงานของหน่วยบริการ ระบบแสงสว่าง 23% ระบบอื่นๆ 14% 1 ระบบปรับอากาศ 63%

มาตรการประหยัดพลังงาน มาตรการประหยัดน้ำมัน มาตรการประหยัดน้ำ มาตรการประหยัดไฟฟ้า

กระเบื้องใสเพิ่มแสงสว่าง การใช้พลังงานทดแทน อาคารโปร่งแสง โซลาร์เซลล์ กระเบื้องใสเพิ่มแสงสว่าง ก๊าซชีวภาพ

Environment : การจัดสิ่งแวดล้อมที่ช่วยลดโลกร้อนและเอื้อต่อสุขภาพ กิจกรรม 5 ส Healthy work place การปลูกไม้ประดับเพื่อดูดซับสารพิษ

กิจกรรมสร้างเสริม

N Nutrition การรณรงค์อาหารปลอดสารพิษ รณรงค์การใช้ผักพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง ด้วยการปลูกผักเพื่อการบริโภคในครัวเรือน หรือ รวมกลุ่ม ชุมชน ดำเนินงานตามแนวพระราชดำริ “ เศรษฐกิจพอเพียง ” การใช้ผักพื้นบ้าน เป็นวิถีวัฒนธรรมของชุมชนและสังคม ซึ่งเชื่อมโยงกับระบบนิเวศ การเกษตรผสมผสาน และเกษตรกรรมธรรมชาติ ปลูกผักตามฤดูกาล ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และยาปราบศัตรูพืช จะช่วยลดการปล่อยก๊าซไนตรัสออกไซด์ออกสู่บรรยากาศโลก

Nutrition N กินผักพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง แกงส้มหยวกกล้วยเถื่อน ยำผักกูด ใบเหลียงผัดไข่ ใบเหลียงชุบแป้งทอด ปลีกล้วยชุบแป้งทอด ไข่ตุ๋นกระบอกไม้ไผ่ หุงข้าวกระบอกไม้ไผ่ ไข่เจียวสมุนไพร, ไข่เจียวใบตอง ยำผักสมุนไพร ข้าวห่อใบเร็ด ขนมลูกชกลอยแก้ว

การรณรงค์อาหารปลอดสารพิษ

รณรงค์ปลูกผักสวนครัวในบ้านและชุมชน

ตลาดนัดสีเขียว

การประเมิน Carbon Footprint ผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป carbonfootprint.anamai.mail.go.th

การคำนวณ Carbon Footprint ผ่าน website http://carbonfootprint.anamai.moph.go.th/

การประกาศความสามารถในการลด GHG หน่วยงานประเมิน carbon footprint เปรียบเทียบกับ ปีฐาน & แจ้ง ศูนย์อนามัยเพื่อรับรอง กรมอนามัยมอบป้าย Carbon Footprint

ฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของโครงการ

ความสำเร็จ