จังหวัดสกลนคร ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ระยะทางจากกรุงเทพมหานครทางรถยนต์ 641 กิโลเมตร พื้นที่ 9605.76 ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือ จดเขต จังหวัดหนองคาย ทิศใต้ จดเขต จังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศตะวันออก จดเขต จังหวัดนครพนม ทิศตะวันตก จดเขต จังหวัดอุดรธานี มีประชากร 1,097,625 คน หญิง 549,377 คน แบ่งการปกครองเป็น18 อำเภอ
รพท. 1 แห่ง รพช. 17 แห่ง รพ.ค่ายกฤษณ์สีวะรา และ รพ.เอกชน 1 แห่ง
Maternal mortality rate in Sakhonnakorn
มารดาเสียชีวิตปีงบประมาณ 2549 จำนวน 7 ราย มารดาเสียชีวิตปีงบประมาณ 2549 จำนวน 7 ราย PPH 2 ราย refered case , macerated DFIU with DIC refered case , Uterine inversion with severe PPH with CPR , Hysterectomy Post C/S under GA complication 1 ราย airway obstruction (มารดาหนัก 87 กก. สูง 154 ซม. GDM A1) Heart disease 2 ราย ( clinically heart failure tachypnea ,tachycardia) refered case นอกเขตจังหวัด SLE with exacerbation and severe pre-eclampsia 1 ราย refered case (preterm , C/S) SLE with exacerbation and sepsis 1 ราย refered case นอกเขตจังหวัด (spontaneous abortion)
มารดาเสียชีวิตปีงบประมาณ 2551 จำนวน 7 ราย PPH 4 ราย referred case ทั้งหมด รพช. 2 ราย รพช.นอกเขตจังหวัด 2ราย PIH 1ราย HELLP Syndrome with intracerebral hemorrhage HIV 1 ราย Acute respiratory failure and cryptomeningitis Anesthetic complication 1 ราย(รพช.) Hypoxia
มารดาเสียชีวิตปีงบประมาณ 2552 จำนวน 7 ราย PPH 2 ราย (refered case 1 ราย จาก รพช.นอกเขตจังหวัด) Criminal septic abortion 2 ราย (refered case 1 ราย) Postpartum with sepsis (refered case) Postpartum with diarrhea (refered case) R/O Amniotic fluid embolism (รพช.)
โครงการศึกษาสาเหตุและแก้ไขปัญหา การตายของมารดาจากการตั้งครรภ์/คลอดบุตร จังหวัดสกลนคร
รวบรวมข้อมูลของมารดาที่เสียชีวิตระหว่างปีงบประมาณ 2549 – 2551 จากแฟ้มเวชระเบียน เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐาน สัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth interview) และ สนทนากลุ่ม (Focus group) แพทย์ และ พยาบาล การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ จัดการประชุมร่วมกับสูติแพทย์ กุมารแพทย์ และ พยาบาล ที่เกี่ยวข้องในจังหวัดสกลนครเพื่อนำเสนอผลการศึกษาและพิจารณาหาแนวทางการป้องกันและ แก้ไข ปัญหามารดาตายจากการตั้งครรภ์/คลอดบุตร ของจังหวัดสกลนคร มี 6 ประเด็น
MCH Board จังหวัดสกลนครรับทราบและดำเนินการพัฒนา มี 6 ประเด็น จัดการประชุมร่วมกับสูติแพทย์ กุมารแพทย์ และ พยาบาล ที่เกี่ยวข้องในจังหวัดสกลนครเพื่อนำเสนอผลการศึกษาและพิจารณาหาแนวทางการป้องกันและ แก้ไข ปัญหามารดาตายจากการตั้งครรภ์/คลอดบุตร ของจังหวัดสกลนคร MCH Board จังหวัดสกลนครรับทราบและดำเนินการพัฒนา มี 6 ประเด็น
1 ปรับโครงสร้าง MCH Board จังหวัดสกลนคร
คณะที่ 1 ประกอบด้วยสูติแพทย์ กุมารแพทย์ รพ.สกลนครและ รพช.ทุกคน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสกลนครเป็นประธาน ผอก.รพ.สกลนครเป็นรองประธาน นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ( ด้านส่งเสริมพัฒนา ) เป็นเลขานุการ
วางแผนยุทธศาสตร์ กำหนดแนวทางการทำงาน ให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการ บทบาทหน้าที่ วางแผนยุทธศาสตร์ กำหนดแนวทางการทำงาน ให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการ ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน กำกับและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
คณะที่ 2 ประกอบด้วยตัวแทนสูติแพทย์ กุมารแพทย์ รพ.สกลนคร รพช. ประกอบด้วยตัวแทนสูติแพทย์ กุมารแพทย์ รพ.สกลนคร รพช. พยาบาล รพ.สกลนคร รพช. สสจ. นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ( ด้านส่งเสริมพัฒนา ) เป็นประธาน หัวหน้างานสร้างเสริมสุขภาพ สสจ. เป็นเลขานุการ บทบาทหน้าที่ วางแผนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กให้ผ่านตัวชี้วัดของกรมอนามัย จัดทำแผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ประสานงานและร่วมแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก กำกับและติดตามประเมินผลการดำเนินงานของ MCH Board ระดับอำเภอ สรุปและรายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการชุดที่ 1
วางแผนยุทธศาสตร์ กำหนดแนวทางการทำงาน ให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการ บทบาทหน้าที่ วางแผนยุทธศาสตร์ กำหนดแนวทางการทำงาน ให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการ ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน กำกับและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) จาก สสจ.ออกเยี่ยมรพช. 2 จัดระบบ Consult ระหว่างแพทย์รพ.สกลนคร กับ แพทย์รพช. นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) จาก สสจ.ออกเยี่ยมรพช. สูติแพทย์ รพ.สกลนคร รพช.แจ้งหมายเลขโทรศัพท์ติดต่อได้ให้แพทย์รพช.เพื่อสะดวกในการปรึกษา
3 การพัฒนาบุคลากร ในเรื่องทักษะการประเมินการคลอด และการทำคลอด 3 การพัฒนาบุคลากร ในเรื่องทักษะการประเมินการคลอด และการทำคลอด โครงการฝึกทักษะบุคลากรใหม่ / เพิ่มพูนทักษะบุคลากรงานห้องคลอด รพช.ในห้องคลอด รพ.สกลนคร คนละหนึ่งสัปดาห์
4 จัดทำ CPG ให้แก่รพช. PPH PIH Post term pregnancy Preterm labour and PROM
5 จัดระบบเครือข่ายการส่งต่อภายในจังหวัด 5 จัดระบบเครือข่ายการส่งต่อภายในจังหวัด ระบบโซน แบ่ง 3โซน รพช. 5 แห่งมีธนาคารเลือด
6 จัดระบบกำกับติดตามการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก 6 จัดระบบกำกับติดตามการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ประชุม MCH Board ระดับจังหวัดทุก 3 เดือน ประชุม MCH Board ระดับอำเภอทุก 3 เดือน นิเทศติดตามงานระดับจังหวัด 2ครั้ง/ปี
ขอบคุณครับ
แนวคิดและข้อเสนอแนะในการจัดการเชิงระบบเพื่อแก้ไขปัญหามารดาเสียชีวิต
พัฒนาระบบการเก็บรวบรวมข้อมูล ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ สร้างระบบการรายงานข้อมูล ชัดเจนและสม่ำเสมอ การฝึกอบรมบุคลากร ด้านวิชาการและทักษะอย่างสม่ำเสมอ สร้างระบบ และ team work สร้างเครือข่ายความร่วมมือพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ให้คำปรึกษาภายในเครือข่าย สร้างระบบการส่งต่อ การใช้ CPG ร่วมกัน การกำกับและติดตามการดำเนินงานร่วมกัน การวางแผนครอบครัวอย่างเหมาะสม มาตรการแก้ไขปัญหาการทำแท้งเถื่อนที่เกิดภาวะแทรกซ้อน