การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Service Plan สาขา NCD.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
ความหมายและกระบวนการ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
ส่งเสริมสัญจร.
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
Pass:
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
1.1 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
FCT คปสอ./รพ.สต.ติดดาว ปี ๒๕๕๘ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๗.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว นพ.สุรพงษ์ ผดุงเวียง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลกุดจับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ๒๔ มกราคม ๒๕๕๗

เศรษฐกิจ/สังคมสุขภาพ ระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) ระบบสิ่งแวดล้อม ระบบบริการสุขภาพ ระบบการดูแลสุขภาพ ระบบเครือข่ายสุขภาพ เศรษฐกิจ/สังคมสุขภาพ -Home care -รพสต. -รพ.ชุมชน -ระบบส่งต่อ -การดูแลต่อเนื่อง สุขภาพ -การดูแลที่บ้าน (Home care) -การดูแลในสถานบริการ -เครือข่ายหน่วยบริการ -เครือข่ายผู้ดูแลสุขภาพ -เครือข่ายผู้จัดการสุขภาพ ฯลฯ -การดูแลตนเอง (Self care) -การดูแลโดยผู้ดูแล (Care giver)

หลักการดำเนินงาน DHS : UCARE U : Unity DHS Team C : Community Participation A : Appreciation R : Resource sharing E : Essential care / ODOP

การจัดการเครือข่ายสุขภาพ การจัดการสุขภาพระดับอำเภอ (District Health Management) คปสอ. สสอ. ภาคีสุขภาพ รพ.สต. รพช. การจัดการเครือข่ายสุขภาพ หน่วยนิเทศ /กำกับ อำเภอ -เอกภาพ -สร้างคุณค่า -แบ่งปันทรัพยากร -พัฒนา - ประสาน - สนับสนุน - มีส่วนร่วม หน่วยงานสนับสนุน -หน่วยบริการ ทุติยภูมิ -CUP -รับส่งต่อ -ให้คำปรึกษา -ทีมดูแล -สนับสนุน -ประสาน -สนับสนุน -มีส่วนร่วม ตำบล -หน่วยบริการ ปฐมภูมิ สุขภาพ (Health) การดูแลสุขภาพ การบริการสุขภาพ ประชาชน

ตำบล การจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับตำบล สสอ. รพช. อปท./ชุมชน หมู่บ้าน รพสต. สสอ. อปท./ชุมชน รพ.สต. รพช. ตำบล -เอกภาพ -สร้างคุณค่า -แบ่งปันทรัพยากร -พัฒนา -ยุทธศาสตร์ ประสาน -พัฒนา คกก.สุขภาพตำบล -ให้คำปรึกษา -พัฒนา -ร่วมดูแล -ประสานงาน -สนับสนุน คุณภาพ Quality นสค. ทีมสุขภาพ กสค อสม/ชุมชน ปัญหาสุขภาพ ดูแล ประสาน สุขภาพ (Health) หมู่บ้าน กลุ่มวัย กลุ่มสุขภาพ กลุ่มโรค กลุ่มพิเศษ ส่งเสริม+ป้องกัน+รักษา+พื้นฟู บริการสุขภาพ ประสิทธิภาพ (Efficiency) เข้าถึง (Access) ไร้รอยต่อ (Seamless) การดูแลสุขภาพ

ส่งเสริม+ป้องกัน+รักษา+พื้นฟู ประสิทธิภาพ (Efficiency) การจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ คปสอ. สสอ. ภาคีสุขภาพ รพ.สต. รพช. - นิเทศ/ติดตาม/กำกับ อำเภอ -เอกภาพ -สร้างคุณค่า -แบ่งปันทรัพยากร -พัฒนา จัดการ - ยุทธศาสตร์ - ประสาน - ติดตามประเมินผล - สนับสนุน - พัฒนา คกก.สุขภาพอำเภอ - สนับสนุน - ส่วนร่วม จัดบริการทุติยภูมิ สนับสนุน -รับส่งต่อ -ให้คำปรึกษา -ทีมดูแล -สนับสนุน -ประสานงาน -สนับสนุน คุณภาพ Quality รพ.สต. สสอ อปท/ชุมชน นสค รพช ปัญหาสุขภาพ จัดบริการปฐมภูมิ ประสานการดูแล สุขภาพ (Health) ตำบล ส่งเสริม+ป้องกัน+รักษา+พื้นฟู กลุ่มวัย กลุ่มสุขภาพ กลุ่มโรค กลุ่มพิเศษ บริการสุขภาพ ประสิทธิภาพ (Efficiency) เข้าถึง (Access) ไร้รอยต่อ (Seamless) การดูแลสุขภาพ

จัดการเครือข่ายสุขภาพ คปสอ.คุณภาพ ตามเกณฑ์คุณภาพสสจ. ตัวชี้วัด MOU 78 ตัว จัดการเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ (DHS) -ยุทธศาสตร์กระทรวง -15ร่องหลัก เขต8 -3ธงนำ 4 เข็มมุ่ง Input Process Output Outcome 16ตัวชี้วัด 22ตัวชี้วัด 31ตัวชี้วัด คน(5) เงิน(6) ยา/วชย (1) ข้อมูล (4) จัดบริการ ชุมชน หน่วยบริการ จัดระบบงาน ประสานงาน ติดตาม ประเมินผล การจัดบริการ -ในรพสต/ชุมชน(4) -ในรพช.(10) การประสานเครือข่าย(7) การพัฒนาคุณภาพรพ(6) การพัฒนามาตรฐานรพช/รพสต. (1) การบริหาร (3)15 ประชาชน กลุ่มวัย (11) กลุ่มโรค(7) กลุ่มพิเศษ (2) กลุ่มทั่วไป (2) สสอ รพช รพสต บ้าน/ชุมชน โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก

จัดการเครือข่ายสุขภาพ การจัดการ คปสอ. สู่ คปสอ.คุณภาพ ตัวชี้วัด MOU 78 ตัว จัดการเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ (DHS) -ยุทธศาสตร์กระทรวง -15ร่องหลัก เขต8 -3ธงนำ 4 เข็มมุ่ง Input Process Output Outcome ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด คน เงิน ยา/วชย ข้อมูล ประชาชน จัดบริการ ชุมชน รพสต./รพช. จัดระบบงาน ประสานงาน ติดตาม ประเมินผล รพสต. -ANC Clinicคุณภาพ -WCC Clinicคุณภาพ รพช. -LR คุณภาพ -NCD Clinicคุณภาพ -มีCKD Clinic -ER ให้SKได้ เครือข่าย -ศูนย์COC คุณภาพ กลุ่มวัย ทารกแรกเกิดตายลดลง กลุ่มโรค ผป.DM/HTควบคุมได้ดี ภาวะแทรกซ้อนลดลง ผป.STROKE/STEMIเสียชีวิต/พิการลดลง กลุ่มสุขภาพ ผป.เตียง3ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ สสอ รพช รพสต บ้าน/ชุมชน โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก

จัดการเครือข่ายสุขภาพ การจัดการ รพ.สต. สู่ รพ.สต.คุณภาพ ตัวชี้วัด MOU 78 ตัว จัดการเครือข่ายสุขภาพ ระดับตำบล (SDHS) -ยุทธศาสตร์กระทรวง -15ร่องหลัก เขต8 -3ธงนำ 4 เข็มมุ่ง Input Process Output Outcome ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด คน เงิน ยา/วชย. สถานที่,สวล ข้อมูล ประชาชน จัดบริการ ชุมชน หน่วยบริการ จัดระบบงาน ประสานงาน ติดตาม ประเมินผล บริการรพสต. -ANC Clinicคุณภาพ -WCC Clinicคุณภาพ -แพทย์แผนไทย -ทันตกรรม ประสานเครือข่าย -ศูนย์COC คุณภาพ -อสม.เชิงรุก มาตรฐานงานสุขศึกษา กลุ่มวัย ทารกแรกเกิดตายลดลง กลุ่มโรค ผป.DM/HTควบคุมได้ดี ภาวะแทรกซ้อนลดลง ผป.STROKE/STEMIเสียชีวิต/พิการลดลง กลุ่มสุขภาพ ผป.เตียง3ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ สสอ รพช รพสต บ้าน/ชุมชน โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก

3. รพ.สต.ติดดาว5ดาว>15% (15) คปสอ.ติดดาว ตามเกณฑ์คุณภาพเขต๘ ยุทธศาสตร์ เขต 8 การจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) (20) การทำงานร่วมกันระดับอำเภอ การทำงานจนเกิดคุณค่า การแบ่งปันทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากร บริการสุขภาพที่จำเป็น การมีส่วนร่วม Access to care Quality of Care Efficiency Seamless 2. ประเด็นสุขภาพ (ODOP)(10) ผลลัพธ์ พัฒนาการและความเชื่อมโยงปัจจัย5ด้าน 3. รพ.สต.ติดดาว5ดาว>15% (15) 3S,HWP,5ส PCA (3,6) IC Lab IT KPI กระทรวง/เขต 4. ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด (50) KPI กระทรวง/เขต (19ตัว) 5.นวัตกรรม(5) CQI R2R Research Innovation

ตัวชี้วัดความสำเร็จ คปสอ.ติดดาว จำนวน ๕ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดความสำเร็จ คปสอ.ติดดาว จำนวน ๕ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่๑ คปสอ.มีความก้าวหน้าในการดำเนินงานพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ๑ ขั้น ของเนื้อหา หรืออย่างน้อยระดับ ๓ ในแต่ละประเด็นขึ้นไป เมื่อสิ้น ปี ๒๕๕๗ (ทุกประเด็นผ่านขั้นที่ ๑–๓) ตัวชี้วัดที่๒ คปสอ.มีโครงการที่เป็นประเด็นแก้ไขปัญหาสุขภาพตามบริบท อย่างน้อย ๑เรื่อง(One District One Project : ODOP) ตัวชี้วัดที่๓ คปสอ.มีหน่วยบริการปฐมภูมิ (รพ.สต./ศสม./ศสช.) ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาวระดับ ๕ ดาว ร้อยละ ๑๕ ของหน่วยบริการปฐมภูมิ ตัวชี้วัดที่๔ คปสอ.มีผลงานผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดของกระทรวง ฯ /เขตบริการสุขภาพที่ ๘ (๑๕ ร่องหลัก ) KPI ๑๘ ตัว ปี ๒๕๕๗ ตัวชี้วัดที่๕ คปสอ.มีผลงาน (วิชาการ) นวัตกรรม, งานวิจัย หรือ R๒R ที่นำสู่การพัฒนาบริการสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ

เงื่อนไขการผ่านเกณฑ์ คปสอ.ระดับ ๕ ดาว (ต้องผ่านทุกข้อ) ตัวชี้วัดที่๑ ต้องได้คะแนน ≥ร้อยละ ๘๕ ตัวชี้วัดที่๒ ต้องได้คะแนน ≥ร้อยละ ๘๕ ตัวชี้วัดที่๓ รพ.สต./ ศสม./ศสช. ผ่านเกณฑ์ ระดับ ๕ ดาว ≥ร้อย ละ ๑๕ ตัวชี้วัดที่ ๔ ตัวชี้วัดทุกตัวต้องผ่านเกณฑ์ และต้องได้คะแนนภาพรวม ≥ร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดที่ ๕ หน่วยบริการปฐมภูมิทุกแห่งต้องมีผลงานหรือนวัตกรรมหรืองานวิจัย/R2R อย่างน้อย ๑ เรื่อง และมีการนำเสนออย่างน้อยระดับอำเภอ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ รพสต.ติดดาว จำนวน ๗ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดความสำเร็จ รพสต.ติดดาว จำนวน ๗ ตัวชี้วัด เกณฑ์ชี้วัดที่ ๑ เกณฑ์ประเมิน รพ.สต. ๓ ดี เกณฑ์ประเมิน Healthy work place ,๕ ส. คะแนนเต็ม ๑๐๐ (น้ำหนัก ร้อยละ ๕) เกณฑ์ชี้วัดที่ ๒ เกณฑ์ประเมิน PCA หมวดสำคัญ (หมวด ๓,๖) และประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการ คะแนนเต็ม ๑๐๐ (น้ำหนัก ร้อยละ ๑๕) เกณฑ์ชี้วัดที่ ๓ เกณฑ์การประเมินงานป้องกันควบคุมการติดเชื้อ ใน รพ.สต. คะแนนเต็ม ๑๐๐ (น้ำหนัก ร้อยละ ๑๐) เกณฑ์ชี้วัดที่ ๔ เกณฑ์ประเมินงานเภสัชกรรม ใน รพ.สต. คะแนนเต็ม ๑๐๐ (น้ำหนัก ร้อยละ ๑๐) เกณฑ์ชี้วัดที่ ๕ เกณฑ์ประเมินงานชันสูตร ใน รพ.สต. คะแนนเต็ม ๑๐๐(น้ำหนัก ร้อยละ ๕) เกณฑ์ชี้วัดที่ ๖ เกณฑ์ประเมินระบบข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ คะแนนเต็ม ๑๐๐(น้ำหนัก ร้อยละ ๕) เกณฑ์ชี้วัดที่ ๗ เกณฑ์ผลลัพธ์งานตาม KPI ๘ ตัว ที่สำคัญของกระทรวงสาธารณสุขและเขตบริการสุขภาพที่ ๘ (๑๕ ร่องหลัก) ปี ๒๕๕๗ คะแนนเต็ม ๑๐๐ (น้ำหนัก ร้อยละ ๕๐)

เกณฑ์ตัวชี้วัด รพสต.ติดดาว เขต ๘ เกณฑ์ประเมิน รพ.สต. ๓ ดี เกณฑ์ประเมินHealthy work place ,5 ส. (5) ๒. เกณฑ์ประเมิน PCA หมวดสำคัญ (หมวด๓,๖) และ ประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการ (15) ๓. เกณฑ์การประเมินงานป้องกันควบคุมการติดเชื้อในรพ.สต. (10) ๔. เกณฑ์ประเมินงานเภสัชกรรม ใน รพ.สต. (10) ๕. เกณฑ์ประเมินงานชันสูตร ใน รพ.สต. (5) ๖. เกณฑ์ประเมินระบบข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ (5) ๗. เกณฑ์ผลลัพธ์งานตาม KPI ที่สำคัญของกระทรวง สาธารณสุข และเขตบริการสุขภาพที่ ๘ (๑๕ ร่องหลัก) ปี ๒๕๕๗ (50)

ตัวชี้วัดตามเป้าหมายยุทธศาสตร์กระทรวงฯและเขตบริการสุขภาพที่ ๘ ปี ๒๕๕๗ ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ (ร้อยละ ๙๐) ๒) ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๑๒ สัปดาห์ (ร้อยละ ๖๐) ๓) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี (ร้อยละ ๔๐) ๔) ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดัน โลหิตได้ดี (ร้อยละ ๕๐) ๕) ร้อยละของประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ร้อยละ ๙๐) ๖) ร้อยละของเด็กประถมได้รับการตรวจช่องปาก ๗) ร้อยละของเด็กประถม ๑ ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ๘) ร้อยละของผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายเตียงประเภทที่ ๓ ได้รับการ ดูแลอย่างมีคุณภาพ

เกณฑ์ตัวชี้วัด รพสต.ติดดาว เขต ๘ การจัดการ ผลลัพธ์ สถานที่/สภาพแวดล้อม ๖. การจัดบริการในสถานบริการ ๙. ผลลัพธ์ด้านสุขภาพประชาชน ๑)หญิงตั้งครรภ์ ๒)ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ๓)ผู้ป่วยโรคความดัน โลหิตสูง ๔)ประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ๕)เด็กประถม/เด็ก ประถม ๑ ๖)ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย เตียงประเภทที่ ๓ ๒.ระบบงานป้องกันควบคุมการติดเชื้อในรพ.สต. ๓.ระบบงานบริหารเภสัชกรรม ๔.ระบบงานชันสูตร ๕.ระบบข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ ๗. การดูแลสุขภาพในชุมชน ๘. การประสานงาน/การทำงานร่วมกับชุมชน

เกณฑ์ระดับดาว คปสอ./รพสต. ๓ ดาว ๔ ดาว ๕ ดาว ร้อยละ๗๐-๗๙ ร้อยละ๘๐-๘๙ ร้อยละ >๙๐

สวัสดี