แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Executives Scenario ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค.
Advertisements

การบูรณาการงานสุขภาพจิต กับระบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS)
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Service Plan สาขา NCD.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
“การดำเนินงานเพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพ ของกระทรวงสาธารณสุข”
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ประเด็นการตรวจราชการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
หลักในการทำงานของ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข นายแพทย์ณรงค์ สห เมธาพัฒน์
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
Six building blocks Monitoring & Evaluation
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นโยบายการดำเนินงานเขตสุขภาพที่ 9 นครชัยบุรินทร์
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
จากแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สู่การพัฒนางานเภสัชกรรม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
Service Plan 10 สาขา ๑) หัวใจและหลอดเลือด Ac. STEMI Ac.Cerebral Infaction ๒) ทารกแรกเกิด ๓) มะเร็ง ๔) อุบัติเหตุ ๕) ๕ สาขาหลัก( อายุรกรรม,ศัลยกรรม,ศัลยกรรมกระดูก,สูตินรีเวชกรรม,กุมารเวชกรรม)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ(Service Plan) นพ.วิรัช พันธ์พานิช ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์ CSO เขตบริการสุขภาพที่ 1 ประธานคณะกรรมการ Service Plan 5 สาขาหลัก กระทรวงสาธารณสุข 26 พฤษภาคม 2557 1

แนวคิดการพัฒนาเขตสุขภาพ 2

เขตบริการสุขภาพ EC 3 2 1 จัดระบบบริการในระดับเขตบริการสุขภาพ Self Care “เขตบริการสุขภาพ” : จัดบริการสำหรับประชาชน 4-5 ล้านคน โดยเน้นบริการตามService Plan 10 สาขา พัฒนาปฐมภูมิสมบูรณ์แบบ ครอบคลุมพัฒนาทุติยภูมิที่สำคัญจำเป็นให้เบ็ดเสร็จในเขตบริการสุขภาพทุกระดับด้วยคุณภาพ มาตรฐาน จัดปัจจัยสนับสนุน คน เงิน ของ ที่เพียงพอพัฒนา ระบบบริหารจัดการ ภายใต้ คกก.เขต บริการ สุขภาพ Seamless Service Network Management EC 3 Self Contained RS Referral Cascade Management System 2 RS 1 Self Care เขตบริการสุขภาพ

สำนักงานเขตบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข CEO สำนักงานประสานงาน สาธารณสุข (แกนคือ สบรส.) สำนักงานเขตบริการสุขภาพ COO พัฒนายุทธศาสตร์ พัฒนาระบบบริการ บริหารทรัพยากร บริหารทั่วไป CIO CSO CFO CHRO CNO

สลับ 4 ระบบ 4 ระดับ Vision ของ รมว. การบริหารร่วม พัฒนาระบบและจัดทำแผนพร้อมทั้งดำเนินการบริหารร่วมอย่างมีธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ใน 4 ด้าน คือ การบริหารกำลังคนร่วม การบริหารงบประมาณร่วม การบริหารการลงทุนร่วม สลับ 4 ระบบ 4 ระดับ Vision ของ รมว. การบริหารจัดซื้อจัดจ้างร่วม โดยเฉพาะ ยาและเวชภัณฑ์ ที่มิใช่ยาและวัสดุวิทยาศาสตร์

สลับ 4 ระบบ 4 ระดับ Vision ของ รมว. การจัด บริการร่วม พัฒนาระบบบริการ 10 สาขา และยกระดับ และพัฒนาขีดความสามารถของสถานบริการ ตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบบริการ 10 สาขา จัดทำแนวทางการดำเนินงานตามนโยบายการพัฒนาระบบบริการโดยการจัดระบบบริการร่วม จัดทำแผนและดำเนินการตามแผนพัฒนาระบบบริการ 10 สาขา จัดทำแผนและดำเนินการตามแผน เป้าหมาย ตัวชี้วัด และมาตรการในยุทธศาสตร์กระทรวงและเขต สลับ 4 ระบบ 4 ระดับ Vision ของ รมว. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานทุกไตรมาส ประเมินผลลัพธ์จากการจัดบริการร่วม

นโย บาย สบรส. กรมต่างๆ นอก สธ. เมือง เป้าหมายของ กระทรวง10 สาขา 1. หัวใจและหลอดเลือด 9. บริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 7. 5 สาขา 6. ตาและไต 5. จิตเวช 4.ทารกแรกเกิด 3. อุบัติเหตุ 2. มะเร็ง 8. ทันตกรรม 10. NCD 10 สาขา บรรลุ KPI 1.การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรค/ภาวะ ที่เป็นปัญหาสุขภาพ Back Bone 2.ฏารพัฒนาตามเกณฑ์ขีดความสามารถ ระบบบริการ คุณภาพ 3. การพัฒนาบริหารจัดการประสิทธิภาพ 4. ระบบการสนับสนุนทรัพยากร นโย บาย สบรส. กรมต่างๆ นอก สธ. สนับ สนุน การ เมือง

SERVICE PLAN และ DHS VISION ตติยภูมิ หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง “ประชาชนเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการประสานชุมชน Self Care” VISION ตติยภูมิ หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด จิตเวช ตา ไต 5สาขาหลัก ทันตกรรม NCD ทุติยภูมิ การบริหารร่วมและบริการร่วมโดยการบริหารจัดการของเขตบริการสุขภาพ ปฐมภูมิ DHS : UCARE ; Unity / Community / Appreciation / Resource / Essential

กลไกการกำกับทิศทางนโยบายและการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Board of CEO ระดับกระทรวง คณะกรรมการกำกับทิศทางนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (รองปลัดฯวชิระ + CSO ทุกเขต + ประธาน SP 10 สาขา) Service Provider Board ระดับเขต คณะกรรมการกำกับทิศทางนโยบายฯ ระดับเขต (CSO เขต + CSO จังหวัด + ประธาน SP 10 สาขา ระดับเขต) คณะกรรมการประสานงาน ระดับจังหวัด (คปสจ.) คณะกรรมการกำกับทิศทางนโยบายฯ ระดับจังหวัด (CSO ทุกจังหวัด + ประธาน SP 10 สาขา ระดับจังหวัด) คณะกรรมการประสานงานระดับอำเภอ(คปสอ.) DHS : คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ระดับอำเภอ (รพ.สต. อสม. อปท. วิสาหกิจชุมชน ภาคประชาชน บ้านวัดโรงเรียน) DHS : UCARE UNITY COMMUNITY APPRECIATION RESOURCE ESSENTIAL หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด จิตเวช ตา ไต 5สาขาหลัก ทันตกรรม NCD PP 5 กลุ่มวัย / ปฐมภูมิ / องค์รวม

Service Plan คืออะไร ?

VISION “ ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จ ภายในเครือข่ายบริการ”

วัตถุประสงค์ของ Service Plan เพื่อให้บริการที่มีคุณภาพ ไร้รอยต่อ และเข้าถึงง่าย 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริการโดยการบริหารจัดการ 3. เป็นแผนแม่บทในการพัฒนาระบบบริการ

เป้าหมาย 1.มาตรฐานการบริการ 2.เข้าถึงบริการ 3.ลดระยะเวลารอคอย 4.ลดอัตราป่วย 5.ลดอัตราตาย 6.ลดค่าใช้จ่าย

กรอบแนวคิด พัฒนาเครือข่ายบริการ(ระบบส่งต่อ)ให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ไร้รอยต่อโดยดำเนินการในรูปคณะกรรมการและพัฒนาสถานบริการแต่ละระดับ ให้ได้เกณฑ์มาตรฐานตามสาขาโรคนั้น ๆ

องค์ประกอบของ Service Plan แผนพัฒนาบริการ แผน พบส. (Share Resource) แผน HRP / HRD แผนลงทุน

วิธีการในการจัดทำ Service Plan 1. จัดตั้งคณะกรรมการ 2. วิเคราะห์ข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพ 3. จัดระดับสถานบริการ บทบาทหน้าที่ และเครือข่าย 4. จัดทำ Gap analysis และแผนพัฒนาสถานบริการ

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จ.เชียงใหม่ 2556-2560 แผน พบส. 2556-2560 แผน HRD 2556-2560 Investment Plan 2556-2560

การใช้ Six building blocks ในการทำ Service Plan

WHO Health System Framework SERVICE DELIVERY IMPROVED HEALTH (LEVEL AND EQUITY) HEALTH WORKFORCE INFORMATION RESPONSIVENESS MEDICAL PRODUCTS,VACCINES & TECHNOLOGIES SOCIAL AND FINANCIAL RISK PROTECTION FINANCING IMPROVED EFFICIENCY LEADERSHIP/GOVERNMENT Source: World Health Organization. Everybody’s Business: Strengthening health systems to improve health outcomes—WHO’s Framework for Action. Geneva: WHO, 2007, page 3.

กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาหลักอายุรกรรม รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน Upper gastrointestinal hemorrhage (UGIH) A -ดูแลผู้ป่วย UGIH ได้ทุกประเภท -รับคำปรึกษาจาก รพช.ทุกแห่ง เพิ่มจำนวนแพทย์ ในการให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า -อบรมแพทย์เฉพาะทาง GI -อบรมพยาบาลเฉพาะทาง GI มีข้อมูลการให้บริการครบถ้วน สนับสนุนยาและเวชภัณฑ์ที่ ขาดแคลน - อุปกรณ์จากงบค่าเสื่อมและเงินบำรุง - คณะกรรม การ service plan อายุรกรรม ระดับจังหวัดดำเนินงานและติดตามความก้าว หน้า - ร่วมกับ อปท. มูลนิธิต่างๆ หน่วยราชการภาคเอกชนในการประชาสัม พันธ์

กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาหลักอายุรกรรม รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน M1 -ดูแลผู้ป่วยUGIH ที่ไม่ massiveและ vital sign stableได้   - เพิ่มแพทย์เฉพาะทางอายุรกรรม - พลักดันให้มีการส่งเสริมการอบรมพยาบาลเฉพาะทางวิกฤติ -พัฒนาระบบการบริหารจัดการการใช้เลือดและผลิตภัณฑ์ของเลือด -เพิ่มศักยภาพการตรวจวินิจฉัยโดยการส่องกล้อง - มีระบบการ consult ทางline -เพิ่มศักยภาพด้านการตรวจวินิจฉัยโรค -สนับสนุนอุปกรณ์ Endo scope -เพิ่มศักยภาพการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฎิบัติการ - อุปกรณ์จากงบค่าเสื่อมและเงินบำรุง - คณะกรรม การ service plan อายุรกรรม ระดับจังหวัดดำเนินงานและติดตามความก้าว หน้า - ร่วมกับ อปท. มูลนิธิต่างๆ หน่วยราชการภาคเอกชนในการประชาสัม พันธ์

กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาหลักอายุรกรรม รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน M2 -ดูแลผู้ป่วยUGIH ระดับ mild ได้   - เพิ่มแพทย์เฉพาะทางอายุรกรรม -ผลักดันให้มีเครือข่ายบริการในสายบริการสาธารณสุข - ผลักดันให้มีการส่งเสริมการอบรมพยาบาลเฉพาะทางวิกฤติ ,อบรมหลักสูตรการใช้เครื่องมือแพทย์ -พัฒนาระบบการบริหารจัดการการใช้เลือดและผลิตภัณฑ์ของเลือด -เพิ่มศักยภาพการตรวจวินิจฉัยโดยการส่องกล้อง - มีระบบการ consult ทางline -เพิ่มศักยภาพด้านการตรวจวินิจฉัยโรค -เพิ่มศักยภาพการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ - อุปกรณ์จากงบค่าเสื่อมและเงินบำรุง -คณะกรรม การ service plan อายุรกรรม ระดับจังหวัดดำเนินงานและติดตามความก้าว หน้า - ร่วมกับ อปท. มูลนิธิต่างๆ หน่วยราชการภาคเอกชนในการประชาสัม พันธ์

กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาหลักอายุรกรรม รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน F1 -ดูแลผู้ป่วยUGIH ระดับ mild ได้   - ผลักดันให้มีการส่งเสริมการอบรมพยาบาลเฉพาะทางวิกฤติ -เพิ่มระบบconsult - มีระบบconsult ผ่านเครือข่ายตามโซนพื้นที่ -เพิ่มศักยภาพด้านการตรวจวินิจฉัยโรคและการพิจารณาส่งต่อ - อุปกรณ์จากงบค่าเสื่อมและเงินบำรุง - คณะกรรมการservice plan อายุรกรรม ระดับจังหวัดดำเนินงานและติดตามความก้าว หน้า - ร่วมกับ อปท. มูลนิธิต่างๆ หน่วยราชการภาคเอกชนในการประชาสัม พันธ์

กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาหลักอายุรกรรม รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน F2 -ดูแลผู้ป่วยUGIH ระดับ mild ได้   - ผลักดันให้มีการส่งเสริมการอบรมพยาบาลเฉพาะทางวิกฤติ -เพิ่มระบบconsult - มีระบบconsult ผ่านเครือข่ายตามโซนพื้นที่ -เพิ่มศักยภาพด้านการตรวจวินิจฉัยโรคและการพิจารณาส่งต่อ - อุปกรณ์จากงบค่าเสื่อมและเงินบำรุง - คณะกรรม การ service plan อายุรกรรม ระดับจังหวัดดำเนินงานและติดตามความก้าว หน้า - ร่วมกับ อปท. มูลนิธิต่างๆ หน่วยราชการภาคเอกชนในการประชาสัม พันธ์

กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาหลักอายุรกรรม รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน ศสม./รพ.สต.   - ให้ความรู้เจ้าหน้าที่ใน รพสต.ในการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาปัญหาสุขภาพรุนแรง  -มีช่องทางให้คำปรึกษาและEmpowerment ญาติผู้ดูแล -การส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองและการจัดการกับภาวะเจ็บป่วย -ส่งเสริมการใช้บริการองค์กรในพื้นที่ในการส่งต่อ มีระบบส่งต่อที่รวดเร็วตามข่ายบริการ -เพิ่มศักยภาพการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง - คณะ กรรมการservice plan อายุรกรรม ระดับจังหวัดดำเนินงานและติดตามความก้าว หน้า - ผู้นำชุมชนมีส่วนร่วมในการประชาสัม พันธ์

A กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาทารกแรกเกิด รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน NICU A - เพิ่มเตียง NICU 4 เตียง (รวม 16) & SNB 6 เตียง (รวม16) -เพิ่มการผ่าตัด PDA ligation -เพิ่มการรักษา Therapeutic Hypothermia - Update CPG และ CNPG การดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิด -เพิ่มกุมารแพทย์เฉพาะทางสาขาทารกแรกเกิดและปริกำเนิด -อบรมแพทย์ให้มีศักยภาพในการดูแลทารกแรกเกิด -อบรมพยาบาลเวชปฏิบัติทารกแรกเกิด -อบรมพยาบาลวิกฤติทารกแรกเกิด -เพิ่มการบริหารจัดการระบบ Call Center ในการบริหารส่งต่อผู้ป่วย -พัฒนาระบบข้อมูลด้านทารกแรกเกิดและการเชื่อมโยงข้อมูลในจังหวัดและเขต -เตรียมและจัดระบบการกระจาย TPN -เพิ่มอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ทางการแพทย์เพื่อรองรับการขยายเตียง -เพิ่มอุปกรณ์ผ่าตัด PDA ligation ,Therapeutic Hypothermia -งบประมาณรายจ่ายประจำปี คณะ กรรมการสาขาทารกแรกเกิดระดับจังหวัดดำเนินงานและติดตามความก้าวหน้า

M1 กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาทารกแรกเกิด รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน NICU M1 -เพิ่ม SNB -จอมทอง เพิ่ม 2 เตียง (รวม 4) -ฝาง เพิ่ม 7 เตียง (รวม 10)   -ใช้ CPG และ CNPG การปฏิบัติงาน -เพิ่มกุมารแพทย์ จอมทอง,ฝาง -อบรมแพทย์ให้มีศักยภาพในการดูแลทารกแรกเกิด -อบรมพยาบาลเวชปฏิบัติทารกแรกเกิด -อบรม พยาบาล วิกฤติทารก แรกเกิด -พัฒนาระบบการรายงานสารสนเทศและการส่งต่อข้อมูล -จัดระบบบริหารจัดการ TPN -เพิ่มอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ทางการแพทย์เพื่อรองรับการขยายเตียง -งบประมาณรายจ่ายประจำปี - ร่วมกับคณะกรรมการสาขาทารกแรกเกิดระดับจังหวัดดำเนินงานและรายงานความก้าวหน้า อสม. เครือข่ายสุขภาพชุมชน

M2 กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาทารกแรกเกิด รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน NICU M2 - เพิ่มเตียง NICU -สันทราย เพิ่ม 2 เตียง (รวม 9)- -หางดง เพิ่ม 2 เตียง (รวม 2) -สันป่าตอง เพิ่ม 2 เตียง (รวม 2) -ใช้ CPG และ CNPG การปฏิบัติงาน -เพิ่มกุมารแพทย์ สันป่าตอง,สันทราย  -อบรมแพทย์ให้มีศักยภาพในการดูแลทารกแรกเกิด -อบรมพยาบาลเวชปฏิบัติทารกแรกเกิด -อบรมพยาบาลวิกฤติทารกแรกเกิด -พัฒนาระบบการรายงานสารสนเทศและการส่งต่อข้อมูล -จัดระบบบริหารจัดการ TPN -เพิ่มอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ทางการแพทย์เพื่อรองรับการขยายเตียง -งบประมาณรายจ่ายประจำปี - ร่วมกับคณะกรรมการสาขาทารกแรกเกิดระดับจังหวัดดำเนินงานและรายงานความก้าวหน้า อสม. เครือข่ายสุขภาพชุมชน

กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาทารกแรกเกิด รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน NICU F1 *มีกุมารแพทย์ -ใช้ CPG และ CNPG การปฏิบัติงาน -อบรมแพทย์และพยาบาลให้มีศักยภาพในการดูแลทารกแรกเกิด -พัฒนาระบบการรายงานสารสนเทศและการส่งต่อข้อมูล   - ดำเนินงานตามแผนงานและรายงานความก้าวหน้า อสม. เครือข่ายสุขภาพชุมชน F2

กระบวนการดำเนินงาน 6 building blocks plus สาขาทารกแรกเกิด รพ.ระดับ 1.บริการ 2.คน 3.ข้อมูล 4.เทคโนโลยี 5.เงิน 6.ธรรมาภิบาล 6+การมีส่วนร่วมของชุมชน NICU ศสม./รพ.สต. คัดกรองทารกที่มีภาวะเสี่ยง/ป่วย มีการส่งต่ออย่างเหมาะสม   อสม. เครือข่ายสุขภาพชุมชน

Thank you for your attention