รายละเอียดตัวชี้วัด เพื่อประกอบคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล ตัวชี้วัดที่ ๑ : ร้อยละของรพ.สต.ที่มีการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคตาม เกณฑ์กำหนด คำอธิบาย : จำนวนรพ.สต.ที่มีการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคตาม เกณฑ์ที่กำหนดทั้ง ๔ เกณฑ์ ๑.รวบรวมและจัดทำฐานข้อมูลที่สำคัญในชุมชน ๒.ตรวจสอบฉลาก การแสดงสรรพคุณบนฉลาก ๓.เฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ๔.พัฒนาศักยภาพให้แก่กลุ่ม อสม. , ครู/ นักเรียน อย.น้อย , แม่บ้านและผู้นำชุมชน เป็นต้น โดยให้รายงานความก้าวหน้าทุกไตรมาส ตามแบบบันทึกการดำเนินงาน คบส.รพสต.
จำนวน รพ.สต.ทั้งหมดในจังหวัดสตูล สูตรการคำนวณ จำนวนรพ.สต.ที่มีการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคตามเกณฑ์ที่กำหนด x ๑๐๐ จำนวน รพ.สต.ทั้งหมดในจังหวัดสตูล เกณฑ์การให้คะแนน ๑ ๔๐ เท่ากับ ๑ คะแนน ๒ ๔๕ เท่ากับ ๒ คะแนน ๓ ๕๐ เท่ากับ ๓ คะแนน ๔ ๕๕ เท่ากับ ๔ คะแนน ๕ ๖๐ เท่ากับ ๕ คะแนน
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ รพ.สต.ที่มีการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ - ๔๕
ตัวชี้วัดที่ ๒ : ร้อยละของตัวอย่างอาหารสดได้รับการตรวจ ตัวชี้วัดที่ ๒ : ร้อยละของตัวอย่างอาหารสดได้รับการตรวจ สารปนเปื้อน ๕ ชนิด คำอธิบาย : จำนวนตัวอย่างอาหารสดที่ตรวจไม่พบสารปนเปื้อน ๓ ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ สารฟอกขาวและฟอร์มาลีน รวมทั้งพบยาฆ่าแมลงและสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำในระดับปลอดภัย และจำนวนตัวอย่างอาหารสดที่ได้รับการตรวจสารปนเปื้อนซึ่งจำนวนตัวอย่างอาหารสด คิดจากจำนวนร้านและแผงที่จำหน่ายอาหารสด ร้านเก่าเก็บตัวอย่าง ๒ ตัว ร้านใหม่ ๖ ตัวอย่าง (ร้านใหม่เก็บ ๒ ครั้งๆ ละ ๓ ตัวอย่าง ) ชุดทดสอบให้ คปสอ.จัดซื้อจัดหาเอง จากงบประมาณที่จังหวัดได้จัดสรรให้ โดยให้รายงานความก้าวหน้าทุกไตรมาส
เกณฑ์การให้คะแนน สูตรการคำนวณ ๑. จำนวนตัวอย่างอาหารสดที่ได้รับการตรวจ x๑๐๐ จำนวนเป้าหมายตัวอย่างอาหารสด ๒. จำนวนตัวอย่างอาหารสดที่ตรวจไม่พบสารปนเปื้อน x๑๐๐ จำนวนตัวอย่างอาหารทั้งหมด เกณฑ์การให้คะแนน ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๓ ระดับ ๔ ระดับ ๕ ๑ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๙๕ ๑๐๐ ๒ ๙๒ ๙๓ ๙๔ ๙๖
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หน่วยวัด ผลการดำเนินงานในอดีต ปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๑.ตัวอย่างที่ได้รับการตรวจตามเป้า ร้อยละ ๑๐๐ ๒.ตัวอย่างอาหารสดปลอดภัย ๙๑.๔๓ ๙๔.๔๙
ตัวชี้วัดในการขับเคลื่อนนโยบาย รมต.สาธารณสุข นโยบาย ข้อ ๖ : จัดให้มีการดูแลกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ เด็ก ,สตรี ,ผู้สูงอายุ , ผู้พิการ ฯ โครงการที่ ๗ : โครงการอย.น้อย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วัตถุประสงค์ ๑.ขยายกิจกรรม อย.น้อยสู่สถานศึกษาให้มากขึ้น ๒.เด็กอย.น้อยมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ เผยแพร่ได้ ๓.เด็กอย.น้อย ตรวจสอบ/เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ แจ้งศูนย์รับ แจ้งข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพ
รายละเอียดการดำเนินงาน ปรับปรุงคู่มือแผนการจัดการเรียนรู้ อย.น้อย ในสถานศึกษา พัฒนาการกิจกรรม อย.น้อย ในสถานศึกษา ผลิตสื่อสนับสนุนการทำกิจกรรม อย.น้อย สำนักงานสาธารณสุขมีงบประมาณในการจัดกิจกรรมส่งเสริมโครงการ อย.น้อยของจังหวัด ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อยมีพฤติกรรมของการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ดีร้อยละ ๗๕
จบการนำเสนอ