สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง ไตรมาส 3 ปีงบประมาณ 2551
ตัวอย่าง การดำเนินการ แบบตรวจสอบการจัดทำระบบบัญชีเกณฑ์คงค้างเพื่อการวิเคราะห์เฝ้าระวังสถานการณ์การเงินของหน่วยบริการ หน่วยรับตรวจ......................................................................................... วันที่ตรวจ………………………………………………………. กิจกรรมการตรวจสอบ / เกณฑ์ในการประเมิน ผลการประเมิน (เอกสาร / คำถามในการประเมิน) มาก ปาน น้อย ที่สุด กลาง 5 4 3 2 1 ความถูกต้องตามหลักการของระบบบัญชี 1.1 ตรวจสอบความถูกต้องยอดคงเหลือ ณ สิ้นเดือน หมวด 1 : สินทรัพย์ > อยู่ด้านเดบิตยตัเว้นค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และค่าเสื่อมราคาสะสมอยู่ด้านเครดิต หมวด 2 : หนี้สิน > อยู่ด้านเครดิต หมวด 3 : ทุน > อยู่ด้านเครดิต รายได้สูง(ต่ำ)กว่าสะสม > กำไรอยู่ด้านเครดิต รายได้สูง(ต่ำ)กว่าสะสม > ขาดทุนด้านเดบิต หมวด 4 : รายได้ > อยู่ด้านเครดิต หมวด 5 : ค่าใช้จ่าย > อยู่ด้านเดบิต 1.2 เป็นไปตามสมการบัญชี > สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน 1.3 ยอดคงเหลืองบทดลองดุลกัน > เดบิต = เครดิต 3 กลยุทธ์ ระบบตรวจสอบภายใน ประเมินการดำเนินการโดยยึดถือการปฏิบัติตามระเบียบการเงินการคลังเป็นหลัก ระบบบัญชี ประเมินความ ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ตามมาตรฐานบัญชี การติดตามเฝ้าระวังฯและวิเคราะห์ สามารถนำไปใช้ในการบริหารจัดการด้านการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่าง
ผลการประเมินและตรวจรับรองเชิงคุณภาพ ตค-มีค.51 ร้อยละ รพ. : ส่งทันตามกำหนด 88.89%ขาด รพ.เกาะพีพี เชิงปริมาณ มิย.51 สอ. : ส่งทันตามกำหนด 87.5%ขาด สอ.ลำทับ
สภาพคล่องทางการเงิน QR CR Std:2 CR/QR CR Std:1 QR
I/E Ratio ล้านบาท Std:1
Unit Cost OPD Pt.OPD พันคน บาท/คน 406 Pt.IPD
Net Working Capital ล้านบาท รพ.กระบี่ เป็นบวก 283.17
ระดับความรุนแรงทางด้านการเงิน Average Net Income
เปรียบเทียบกำไรขั้นต้นต่อกำไรสุทธิ
จำนวนวันหมุนเวียนลูกหนี้/เจ้าหนี้ Std : 90 ลูกหนี้ วัน เจ้าหนี้
จำนวนวันหมุนเวียนสินค้า Std:90
รายจ่ายบุคลากรต่อการดำเนินงาน Std:60
อัตราการครองเตียง/ใช้เตียง อัตราการใช้เตียง
สรุปประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะ การบริหารหนี้สิน จำนวนวันหมุนเวียนของเจ้าหนี้โรงพยาบาลอ่าวลึก ปลายพระยา ลำทับ และเกาะลันตา มีจำนวนวันหมุนเวียนค่อนข้างสูง เนื่องจากประเด็นแรก การบริหารภาระหนี้สินไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ชำระหนี้เจ้าหนี้การค้าล่าช้า ประเด็นที่ 2 การส่งข้อมูลการจัดซื้อและตรวจรับสินค้าไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนด ทำให้การบันทึกรับรู้หนี้สินไม่เป็นไปตามหลักการบัญชี ข้อเสนอแนะ คณะทำงานCFO ได้วิเคราะห์ปัญหา และได้หาแนวทางแก้ไข โดยปรับเปลี่ยนระบบการเรียกเก็บและตามจ่าย และลดภารกิจงานของโรงพยาบาลทุกแห่งโดยใช้ระบบ E-OFFICE แทนและเพื่อให้สามารถบันทึกรับรู้ทางบัญชีได้ถูกต้องและรวดเร็ว สำหรับการชำระหนี้สินค่าใช้จ่ายในการดำเนินการอื่นๆ ให้หน่วยงานมีระบบการควบคุมกำกับ และกำหนดผู้รับผิดชอบในส่วนนี้ให้ชัดเจน
ปัญหาการรับบริการผู้ป่วยพื้นที่รอยต่อ เนื่องจากขณะนี้มีหลายโรงพยาบาลที่มีผู้ป่วยพื้นที่รอยต่อมารับบริการน้อย ได้แก่ โรงพยาบาลปลายพระยา โรงพยาบาลลำทับ และ โรงพยาบาลเกาะลันตา ข้อเสนอแนะ ให้โรงพยาบาลพัฒนาคุณภาพงานบริการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และผู้มารับ บริการพึงพอใจ ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือของผู้บริหารและทีมพัฒนาคุณภาพ เสนอแนะให้มีการพัฒนาหน่วยบริการพื้นที่รอยต่อเป็น CMU เพื่อ เพิ่มสมรรถนะการรักษาและสามารถรองรับผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปัญหาการเก็บลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล มีโรงพยาบาลหลายแห่งที่ไม่สามารถเก็บข้อมูลลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิต่างๆ มาบันทึกรับรู้ประจำวันได้ เนื่องจากระบบโปรแกรมการจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยยังไม่สมบูรณ์ และขาดบุคลากรในการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยให้เป็นปัจจุบัน ข้อเสนอแนะ จังหวัดได้มอบหมายให้โรงพยาบาลอ่าวลึกเป็นโรงพยาบาลนำร่องในการดำเนินการพัฒนาระบบโปรแกรมผู้ป่วย เพื่อให้การดึงข้อมูลเป็นปัจจุบัน และสมบูรณ์มากขึ้น และให้รพ.อื่นๆ ไปศึกษาระบบเพื่อนำมาพัฒนาหน่วยงานของตนเอง
ปัญหาค่าใช้จ่ายบุคลากร มีหลายโรงพยาบาลที่มีค่าใช้จ่ายบุคลากรหรือค่าตอบแทนอยู่ในสัดส่วนค่อนข้างสูงและเกินเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้านบุคลากร ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวะที่เกิดขึ้น อันได้แก่ โรงพยาบาลปลายพระยา คลองท่อม เขาพนม เหนือคลอง ลำทับ และเกาะลันตา ข้อเสนอแนะ โรงพยาบาลที่ประสบปัญหาจะต้องดำเนินการวางแผนระบบการเบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่ายของบุคลากรในส่วนที่เป็น Variable Cost ให้รัดกุมมากขึ้น โดยการจัดทำ Financial Reform ซึ่งโรงพยาบาลได้ทำสำเร็จมาแล้ว และควรมีการบริหารจัดการโดยการเปลี่ยนมาตรการการจ้างงานมาเป็นการจ้างเหมาบริการแทน เช่น การจ้างเหมาทำความสะอาด ยาม เป็นต้น