( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
Strategy Map Teenage.
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ โครงการ การบริหารงบประมาณตามแผนปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานทุกหน่วยงานใช้เงินงบประมาณ ทันเวลา.
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ )
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ประธาน นายสุริน รักษาแก้ว เลขา คุณสุนันทา รอดสม ผู้นำเสนอ นายเบญพล ใหม่ชู
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การสร้างสื่อ e-Learning
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ) Teenage Pregnancy เขตตรวจราชการที่ ๕ ( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )

หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร เขตสาธารณสุขที่ 5 หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร เขตสาธารณสุขที่ 5 ปี 2544 – 2552 (ตค.51-เมย.52) ร้อยละ เป้าหมายปี 2552 : ร้อยละ 10

หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร ปี 2552(ตค.51-เมย.52) ร้อยละ เป้าหมายปี 2552 ร้อยละ 10

วัตถุประสงค์การประเมิน เพื่อทราบกระบวนการจัดทำแผนเพื่อแก้ไข ปัญหาในระดับพื้นที่ที่เป็นรูปธรรม  เพื่อติดตามการบูรณาการดำเนินงานร่วมกัน ของระดับพื้นที่ ทั้งการจัดการแผน งบประมาณ และกำลังคน เพื่อทราบถึงความก้าวหน้า ความสำเร็จของการ ปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และ เป้าหมายที่กำหนดไว้เพียงใด เพื่อพัฒนา ปรับปรุงงานให้มีการแก้ไขปัญหาได้ ตรงประเด็น

กรอบการประเมินผลโครงการ  ประเมินด้านบริบท เพื่อกำหนดความเป็นไปได้ ของโครงการ ความชัดเจน เหมาะสม และความ สอดคล้องกับนโยบาย  ประเมินปัจจัยป้อน เพื่อพิจารณาความพอเพียง ของทรัพยากร งบประมาณ บุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ เวลา เทคโนโลยี  ประเมินกระบวนการ เพื่อหาข้อบกพร่อง และแก้ไข ปรับปรุง ประเมินผลผลิต เพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่เกิด ขึ้นกับวัตถุประสงค์

ผลการประเมิน ด้านบริบท : ทุกจังหวัดเห็นว่าควรเร่งรัด ด้านบริบท : ทุกจังหวัดเห็นว่าควรเร่งรัด ดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาเรื่อง แม่วัยรุ่น โครงการมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา ปัจจุบัน ครบองค์ประกอบของการจัดลำดับความสำคัญ ทั้ง 4 S ได้แก่ Size Severerity Social concern และ Solution การดำเนินงานยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่

ด้านปัจจัยนำเข้า : ทรัพยากร บุคลากร วัสดุ ด้านปัจจัยนำเข้า : ทรัพยากร บุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี ปัญหาเด็กและเยาวชนยังไม่ถูกกำหนด เป็นประเด็นยุทธฯในแผนของจังหวัดจึงไม่มี แผนงาน/โครงการ ครอบคลุมทุกมิติ สัดส่วนการกระจายงบประมาณเพื่อการแก้ไข ปัญหามีปริมาณน้อย ทั้งที่เป็นปัญหาของพื้นที่ บุคลากรน้อย ภาระงานมาก ขาดการพัฒนา ทักษะเป็นวิทยากรระดับจังหวัด การสำรวจข้อมูลยังมีน้อย กำลังเริ่มพัฒนา ฐานข้อมูล

ด้านกระบวนการ การวิเคราะห์สภาพปัญหา และการดำเนินงาน ที่ผ่านมา กระบวนการวิเคราะห์สภาพปัญหา จังหวัดใช้เกณฑ์ : นโยบาย ขนาด ความรุนแรง ผลกระทบ ความยากง่าย ในการแก้ปัญหา วิเคราะห์องค์กร : SWOT/ PEST / McKinsey 7 S Framework

มาตรการที่พื้นที่ดำเนินการในปัจจุบัน  อบรมให้ความรู้แก่แกนนำ ไม่แยก กลุ่มเสี่ยงและไม่เสี่ยง  การให้คำปรึกษาในคลินิค ANC  มุมเพื่อนใจวัยรุ่น

 สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เสี่ยงต่อปัญหา พบกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียน นักศึกษามากที่สุด แต่ยัง ไม่มีข้อมูลรายละเอียดที่สำคัญอื่นๆ เช่น  สาเหตุและปัจจัยที่ทำให้เสี่ยงต่อปัญหา  ความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนต่อสถานการณ์ และการแก้ปัญหา  การให้บริการ การเข้าถึงบริการในพื้นที่ และ เครือข่าย  ข้อมูลในแต่ละพื้นที่/ชุมชนที่มีความแตกต่าง  หลักสูตร/ สื่อ / ช่องทางต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อวัยรุ่น

2. การวางแผนแก้ปัญหา และกระบวนการ  จัดทำแผนงาน/ โครงการ ในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล ( ยังไม่ครอบคลุม) ไม่มี การบูรณาการที่ชัดเจน  กลุ่มเป้าหมายไม่มีการวิเคราะห์เชิงลึก ไม่ชัดเจนจึงทำให้การแก้ปัญหาไม่ตรงประเด็น  การแก้ปัญหาในปัจจุบันใช้การอบรม ให้ความรู้ในสถานศึกษา

3. การนำแผนสู่การปฏิบัติ  มีการประชุมหน่วยงานย่อยที่เป็นพื้นที่ นำร่อง ร่วมวางแผนแก้ปัญหา  ขาดข้อมูลที่สำคัญในการวางแผน กำหนดทิศทางการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์/ยุทธวิธี ทุกระดับยังไม่ สอดรับกัน พื้นที่ยังไม่ทราบมาตรการที่ สำคัญ(Core Intervention)

ด้านผลผลิต ผลงานเชิงปริมาณ และความก้าวหน้า ของงานน้อย ผลงานเชิงคุณภาพที่ดำเนินการไป แล้วตามขั้นตอนต่างๆยังไม่เห็น ความแตกต่างตามนโยบายของ การบูรณาการเชิงรุก

ปัญหา จังหวัด อำเภอ ตำบล ยังไม่บูรณาการงาน เพื่อแก้ปัญหา มาตรการหลัก (Core Intervention) ที่ใช้ อยู่ยังไม่สมารถแก้ปัญหาได้จริง การวิเคราะห์ข้อมูลยังไม่พอเพียงที่จะใช้ ตัดสินใจในการวางแผนงาน

ข้อเสนอแนะ  ควรศึกษาข้อมูล เชิงลึกของวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงใน Setting ต่างๆ แล้วนำมาพิจารณาร่วมกับ กระบวนการจัดทำแผนแก้ปัญหาตามบริบท ของพื้นที่  อบรมบุคลากรให้เข้าใจและสามารถจัดทำแผน บูรณาการเชิงรุกได้  พัฒนาหลักสูตรที่ใช้อบรมให้ความรู้วัยรุ่นที่ได้ มาตรฐาน คัดสรรวิทยากรที่มีความเหมาะสม จูงใจ และเป็นมิตรกับวัยรุ่น  ประเมินผลเพื่อทราบจุดอ่อน จุดแข็งที่ต้อง ปรับปรุงเปลี่ยนแปลง