ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety) โดย น.พ.สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงสาธารณสุข (ด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข) เลขานุการศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร
นโยบายของรัฐบาล ปี 2547 เป็นปี แห่งสุขภาพอนามัย โดยอาหารที่บริโภค ภายในประเทศ มีความปลอดภัย และได้มาตรฐาน ทัดเทียมสากล
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุข จากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 4 มีนาคม 2546 บทบาทของกระทรวงสาธารณสุข จากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 4 มีนาคม 2546 ควบคุมการนำเข้ายา เภสัชเคมีภัณฑ์ อาหารสำเร็จรูป วัตถุดิบในการผลิตอาหาร (ยกเว้นเนื้อสัตว์ ปลาทูน่าและ กุ้ง) ขึ้นทะเบียนและควบคุมการจำหน่ายยา เภสัชเคมีภัณฑ์ เวชภัณฑ์ อนุญาตประกอบการโรงงานแปรรูปอาหาร ตรวจสอบควบคุม มาตรฐานและกระบวนการผลิตโรงงานผลิตอาหารเพื่อจำหน่าย ในประเทศ ตรวจสอบรับรองอาหารที่จำหน่ายในประเทศ
การนำเข้า การผลิต-ฟาร์ม การแปรรูป การจำหน่าย พัฒนาผู้บริโภค ROAD MAP การดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารเพื่อบริโภค ปี 2546-2547 การนำเข้า การผลิต-ฟาร์ม การแปรรูป การจำหน่าย พัฒนาผู้บริโภค 1. ปัจจัยการผลิต - ยาสัตว์ - เภสัชเคมีภัณฑ์ - เคมีวัตถุทาง การเกษตร 1.ตรวจรับรอง ฟาร์มมาตรฐาน 1.ตรวจรับรองสถานที่ ผลิตอาหารเพื่อการ บริโภคภายใน ประเทศ 1.ตรวจสอบสาร ปนเปื้อน 6 ชนิด ในอาหารสด 1.อย.น้อย 2.สร้างกระแส/สื่อ 2.ติดตามการใช้ ปัจจัยการผลิต 3.ประชาสัมพันธ์ ตราสัญลักษณ์ 2.ตรวจสอบฉลาก อย. ในอาหารแปรรูป 2.ตรวจรับรองโรงงาน แปรรูปสินค้า เกษตรและอาหาร เพื่อการส่งออก 2. อาหาร 3.ตรวจรับรองคุณภาพ ก่อนส่งออก 3.ตรวจสถานที่ จำหน่าย - ตลาดสด - ซุปเปอร์มาร์เก็ต - ร้านอาหาร แผงลอย 4.สร้างส่วนร่วม ภาคประชาชนและ ภาคเอกชน 3. วัตถุดิบ 3.การเฝ้าระวังติดตาม การใช้สารเคมี ยาสัตว์ และ เภสัชภัณฑ์ - สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน/พัฒนาความเชื่อมโยงระบบข้อมูลสารสนเทศ/ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ - พัฒนากฎหมายให้สอดคล้องกับสากล/พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการ/รณรงค์ล้างตลาดทั่วประเทศและตรวจอาหารในโรงเรียน - มอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและองค์กรท้องถิ่นหน่วยงานหลักเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยในพื้นที่
ที่มา : ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร สถานการณ์ อาหารสด ที่มา : ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร สารปนเปื้อน ก่อนโครงการ มีค.46 มี.ค.48 ร้อยละ สารเร่งเนื้อแดง 96 10.58 สารฟอกขาว 10 0.41 สารกันรา 17.2 1.45 บอแรกซ์ 42 0.64 ฟอร์มาลิน 1.21 ยาฆ่าแมลง 20.6 3.58
แผนยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหาร กระทรวงสาธารณสุข 1. ด้านการพัฒนามาตรฐานกฎหมายให้เป็นสากล 2. ด้านความเข้มแข็งในการกำกับดูแลให้อาหาร ปลอดภัย 3. ด้านการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค 4. ด้านการพัฒนาบุคลากรและกระบวนการทำงาน 5. ด้านการพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการ GMP
- ประสานความร่วมมือ - กลไกทางกฎหมาย - พัฒนาองค์ความรู้ กลไกการดำเนินงาน 1. บทบาทภาครัฐ - ประสานความร่วมมือ - กลไกทางกฎหมาย - พัฒนาองค์ความรู้ 2. บทบาทด้านผู้ประกอบการ - มีจิตสำนึกและรับผิดชอบต่อสังคม 3. บทบาทด้านผู้บริโภค - มีความรู้ - มีส่วนร่วม
การประเมินผล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ก้าวต่อไปของ “ Food Safety ”
1. สถานที่ผลิต และแปรรูปอาหาร 1. สถานที่ผลิต และแปรรูปอาหาร “ ได้ GMP 100 % ”
2. อาหารสด “ มีป้าย Food Safety 80 % ”
“ มีป้าย Clean Food Good Taste 80% ” 3. อาหารปรุงจำหน่าย “ มีป้าย Clean Food Good Taste 80% ”
“ ทุกอำเภอมีถนนอาหารปลอดภัย ” 4. ปี 2549 “ ทุกอำเภอมีถนนอาหารปลอดภัย ”
5. เพิ่มการเฝ้าระวัง - เชื้อจุลินทรีย์ในอาหารถุง - Aflatoxin ในถั่ว 5. เพิ่มการเฝ้าระวัง - เชื้อจุลินทรีย์ในอาหารถุง - Aflatoxin ในถั่ว - น้ำมันทอดซ้ำ
“ ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อ ทุกแห่ง ” 6. ตลาดสดประเภท 1 “ ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อ ทุกแห่ง ”
7. ขยายการตรวจสอบเคลื่อนที่ “ ครบทุกจังหวัด ”
8. จัดตั้งด่านอาหารและยา “ ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ ”
9. พัฒนาห้องปฏิบัติการ และ “ ชุดทดสอบเบื้องต้น ”
10. อ.ย.น้อย อ.ย.สอนน้อง อ.ย.อาชีวะ
11. ประสานกับกระทรวงเกษตรฯ “ เพื่อควบคุมแหล่งผลิต ”
“ ความปลอดภัยด้านอาหาร ” 12. E-Learning “ ความปลอดภัยด้านอาหาร ”
13. ความร่วมมือ ระหว่างกระทรวง ระดับนานาชาติ
ขอขอบคุณ