ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการวางแผนและ ประเมินผล สาธารณสุข จังหวัดลำปาง ครั้งที่ 5 / มิถุนายน 2553.
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
Research Mapping.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
29-2 ธันวาคม 2553 โรงแรมกิจตรงวิลล์ รีสอร์ท อุบลราชธานี
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
ทิศทางการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
แนวทางการดำเนินงานสาธารณสุขที่สำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัย ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯยุทธศาสตร์ วปภ. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การยกระดับขีด ความสามารถในการบริหารจัดการด้านการ.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” นายแพทย์มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 14 ตุลาคม 2553

พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่ อปท. จัดระบบบริการสาธารณะ ความเป็นมา รัฐธรรมนูญ 2550 มุ่งเน้นกระจายอำนาจ จังหวัด อำเภอ ตำบล พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่ อปท. กำหนดหน้าที่ในการ จัดระบบบริการสาธารณะ นโยบายรัฐมนตรี รพ.สต. สป. / กรม คร. SRRT

อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการภายในปี 2563 อำเภอ รพ.สต. สสจ. ยุทธศาสตร์ การดำเนินงานแบบมุ่งเน้นผลงาน เครื่องมือ : คุณลักษณะอำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 3

นิยาม “อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์

ปัจจุบัน อนาคต ไม่เป็นระบบ?? กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ ปัจจุบัน อนาคต ....... 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน ....... ....... 4.มีการระดมทุนฯ 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??

“คุณลักษณะอำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” มีคณะกรรมการพิจารณาควบคุมโรคและภัยสุขภาพระดับอำเภอ 1.1 มีองค์ประกอบจากทุกภาคส่วนได้แก่ภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน 1.2 มีการประชุมสม่ำเสมอ 1.3 มีรายงานผลการประชุม 1.4 มีการนำผลจากการประชุมไปปฏิบัติงาน 1.5 มีการติดตามผลการดำเนินงาน 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี 2.1 มีระบบข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาที่ดี : มีรายงานการเกิดโรครวดเร็ว ครบถ้วน รวดเร็ว/ มีข้อมูล / สถิติ การเกิดโรค / มีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ / มีการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการควบคุม ป้องกันโรค / มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการบริหารข้อมูล 2.2 มีทีม SRRT ที่มีประสิทธิภาพ : ในระดับอำเภอ มีทีมSRRT อย่างน้อย 1 ทีม / SRRTมีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน ในระดับตำบล มีทีมSRRTทุกตำบล / SRRT มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน 2.3 โรงพยาบาลมีห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น อหิวาตกโรค โรคไข้เลือดออก 3. มีการวางแผนป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3.1 มีเป้าหมายการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญหรือเป็นปัญหา 3.2 มีแผนควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุข 3.3 มีแผนป้องกัน เตรียมความพร้อม ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน ข้อ 3.3 มีการซ้อมแผน / มีตัวอย่างการดำเนินตามแผนเมื่อเกิดเหตุ / มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและจัดทำข้อเสนอเพื่อปรับปรุง 4. มีการระดมทุนหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 4.1 องค์การปกครอบส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ.,เทศบาล, อบต. 4.2 กองทุนในพื้นที่ เช่นกองทุนสุขภาพชุมชน 4.3 CUP 4.4 องค์กรเอกชนอื่นๆ (......) 5. มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญหรือเป็นปัญหา เช่น ไข้เลือดออก,อหิวาตกโรค, วัณโรค และ ........ 6 6

1. มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1.1 มีองค์ประกอบจากทุกภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน 1.2 มีการประชุมสม่ำเสมอ 1.3 มีรายงานผลการประชุม 1.4 มีการนำผลจากการประชุมไปปฏิบัติ 1.5 มีการติดตามผลการดำเนินงาน 7

2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี 2.1 มีระบบข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาที่ดี - มีรายงานการเกิดโรครวดเร็ว ครบถ้วน ถูกต้อง - มีข้อมูล/สถิติ การเกิดโรค - มีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ - มีการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการควบคุมป้องกันโรค 8

2.2 มีทีม SRRT ที่มีประสิทธิภาพ ในระดับอำเภอ ø มีทีม SRRT อย่างน้อย 1 ทีม ø ทีม SRRT มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน - ในระดับตำบล ø มีทีม SRRT ทุกตำบล ø SRRT มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน 2.3 โรงพยาบาลชุมชนมีห้องปฏิบัติการ ตรวจ วินิจฉัยโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น อหิวาตกโรค โรคไข้เลือดออก 9

3. มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3.1 มีเป้าหมายการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญหรือเป็นปัญหา 3.2 มีแผนควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุข 3.3 มีแผนป้องกัน เตรียมความพร้อม ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ในภาวะฉุกเฉิน ø มีการซ้อมแผน ø มีตัวอย่างการดำเนินตามแผนเมื่อเกิดเหตุ ø มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและจัดทำข้อเสนอเพื่อปรับปรุง 10

4. มีการระดมทุนหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 4.1 องค์การปกครอบส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ. , เทศบาล , อบต. 4.2 กองทุนในพื้นที่ เช่น กองทุนสุขภาพชุมชน ฯลฯ 4.3 CUP 4.4 องค์กรเอกชนอื่นๆ (.....) 11

5. มีผลสำเร็จของการควบคุมโรค ที่สำคัญหรือปัญหา เช่น 5.1 ไข้เลือดออก 5.2 อหิวาตกโรค 5.3 วัณโรค 5.4 ......... 12

แนวทางการดำเนินงาน พัฒนาระบบบริหารจัดการระดับจังหวัด เพื่อสนับสนุนอำเภอ ให้ได้ตามคุณลักษณะ สื่อสาร ประชาสัมพันธ์สร้างกระแส กระตุ้น จูงใจให้หน่วยงานทุกภาคส่วน สนใจ เข้าร่วม ติดตามประเมินผล ประกวด ยกย่อง ให้รางวัล พัฒนาสมรรถนะบุคลากรสาธารณสุขระดับจังหวัด อำเภอและตำบลที่ยังไม่ผ่านคุณลักษณะ

ขอบคุณครับ