ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา 1.ปัญหาระบบเบิก-จ่าย เจ้าหน้าที่อนามัย รับยาเอง ส่งเอกสารการเบิกเอง ขั้นตอนการเบิกยุ่งยาก สิ้นเปลืองเวลาในการทำงานอื่น 2.ปัญหาเรื่องการจัดการคลัง 2.1 คงคลังเกิน 3-4 เดือน 2.2 การจัดการคลังยาย่อยไม่เป็นไปตามระเบียบพัสดุ 2.3 มียาหมดอายุในสถานีอนามัย 3.ปัญหาเรื่องงานบริการ 3.1 งานบริการผู้ป่วยทำให้เป็นมาตรฐานได้ยากเช่น ชื่อผู้ป่วย ชื่อยา วิธีใช้ วันที่รับ ข้อบ่งใช้ ข้อควรระวัง
1. การลดขั้นตอนในการเบิกจ่ายยาในระบบเครือข่าย 2. ลดจำนวนยาคงคลังของสถานีอนามัย 3. ลดยาหมดอายุในสถานีอนามัย 4. ลดขั้นตอนในการจัดการคลังยาย่อยในสถานีอนามัย 5. เพิ่มความพึงพอใจในการให้บริการของเจ้าหน้าที่และผู้ป่วย
แรงบันดาลใจ SEVEN /ELEVEN
กรอบแนวคิดของการพัฒนา
การจัดระบบการดูแล แบ่งระบบงานเป็น 3 ส่วนใหญ่ ระบบกระจายยา ระบบงานIT ระบบงานใน สอ. งานคลังยาใหญ่ เป็นผู้ดูแล ทีม IT คปสอ.ระบบใหญ่ 1.ผู้ดูแลระบบ IT สอ.(พนักงานคีย์ข้อมูล) 2. ผู้ดูแลระบบคลังยา 3.ผู้ตรวจรักษา
การปรับระบบการส่งใบเบิก แบบเก่า สอ.ส่งใบเบิกที่สสอ.ส่งต่อที่ รพ. ส่งต่อคลังเวชภัณฑ์ เจ้าหน้าที่สอ.สำรวจคงคลัง เขียนเบิก สอ.มารับยาเองที่คลังเวชภัณฑ์ มียาสต๊อกเกิน 3 เดือน ทำให้อาจมียาหมดอายุหรือยาเสื่อมคุณภาพได้ แบบใหม่ ส่งตรงที่คลังเวชภัณฑ์เป็นไฟล์ทางอีเมล์ ใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูลในโปรแกรมส่งเบิก คลังยานำยาส่งโดยตรงถึงสอ. ไม่มีการสต๊อกยา ลดโอกาสที่จะมียาหมดอายุหรือเสื่อมคุณภาพ ปรับเป็น
การปรับระบบในการส่งยา โรงพยาบาลนำยาไปส่งสถานีอนามัย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยจะสลับสัปดาห์ละโซน โซนละ 8-9 สถานีอนามัย ที่ไปเส้นทางเดียวกัน ทำให้ประหยัดพลังงาน
กำลังขนยาไปส่งสถานีอนามัย
สามารถลดขั้นตอนในการเบิกยาจากหลายขั้นตอน แบบเก่า แบบใหม่ 1.สถานีอนามัยส่งใบเบิกที่สสอ. 1. สถานีอนามัยส่งใบเบิกมาที่ คลังยา 2.สสอ.ส่งไปเบิกมาที่โรงพยาบาล 2. คลังยาจัดยา นำส่งยาที่สอ. 3. ผอ.เซ็นอนุมัติ 4. คลังยาจัดยา นัดให้สอ.มารับ หมายเหตุ ไม่ได้เก็บการลดลงของเวลาในการปรับระบบ
การพัฒนา งานคลังและงานบริการ ทำพร้อมกัน โดยใช้โปรแกรมJHCIS เป็นตัวประสาน
การปรับระบบการลงข้อมูลคลังและงานบริการไว้พร้อมกัน แบบใหม่ มีการคีย์ข้อมูลยาขณะตรวจผู้ป่วย ปรับเป็น แบบเก่า คีย์ข้อมูลหลังตรวจผู้ป่วยเสร็จแล้ว : ทำงานซ้ำซ้อน
การปรับซองยา/ฉลากยา แบบเก่า แบบใหม่ เขียนซองยาด้วยลายมือ อ่านยาก ไม่มีรายละเอียด แบบใหม่ พิมพ์สติกเกอร์ฉลากยาและติดซองยาจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปรับเป็น
ตัวอย่างซองยาเก่า/ใหม่
ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้มารับบริการ ลำดับ หัวข้อ ร้อยละ 1 ความสะดวกในการอ่านฉลาก 95 2 ความเข้าใจในฉลากยา 3 ความพอใจด้านเวลารอคอยบริการ 4 ความพอใจด้านสถานที่ 100
การปรับการตัดสต๊อกการ์ด แบบเก่า ตัดสต๊อกการ์ดด้วยมือภายหลัง แบบใหม่ ตัดทันทีขณะตรวจคนไข้โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปรับเป็น
ตัวอย่างสต๊อกการ์ดเก่า/ใหม่
ยังไม่ได้ทำการวิเคราะห์เรื่องการลดเวลาได้เท่าไหร่ ลดขั้นตอนในการจัดการคลังยาย่อยและงานบริการในสถานีอนามัย JHCIS ลงข้อมูลยาพร้อมการตัดการ์ดยาจึงทำให้ไม่ต้องใช้เวลาในการทำงานคลัง ยังไม่ได้ทำการวิเคราะห์เรื่องการลดเวลาได้เท่าไหร่
ลดจำนวนยาคงคลังของสถานีอนามัย การนิเทศปี 2552 หลังปรับปรุงระบบ การนิเทศปี2554 คงคลัง 2-3 เดือน ราคา 30,000 บาท คงคลัง 15 วัน ราคา 12,000 บาท
การปรับการตรวจสอบวันหมดอายุ แบบเก่า ตรวจโดยใช้เจ้าหน้าที่ไปดูรายการยาทั้งหมดที่มีในสต๊อก แบบใหม่ ตรวจโดยมีใบรายการยาที่ใกล้หมดอายุจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทำให้ไม่ต้องตรวจสอบรายการยาทั้งหมด ตรวจเฉพาะรายการที่มีในใบตรวจสอบ ทำให้ประหยัดเวลามากขึ้น ปรับเป็น
ตัวอย่างใบตรวจสอบยาใกล้หมดอายุ
ลดยาหมดอายุในสถานีอนามัย การนิเทศปี 2552 หลังปรับปรุงระบบ การนิเทศปี2554 ยาหมดอายุเฉลี่ยอนามัยละ 2,995 บาท พบยาหมดอายุ 1 รายการ 500 บาท
ผลการประเมินความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ ความพึงพอใจในการบริหาร Stock หัวข้อ ผู้ปฏิบัติ ความสะดวกในการทำงาน 100% เวลาในการทำงาน ความพึงพอใจในการบริหาร Stock
ขอบคุณที่ให้ความสนใจ สวัสดี ทีมงานกมลาไสย-ฆ้องชัย