บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

ส่งเสริมการรักการอ่าน...
ข้อมูลบุคลากร รวมทั้งสิ้น 54 คน ประเภท ชาย หญิง รวม
โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
การนำเสนอผลการศึกษาและการมีส่วนร่วมในสถานศึกษา
การนำสื่อมวลชนเพื่อใช้ทางการศึกษา
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
การบริหารงานของห้องสมุด
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การจัดการบริการสารสนเทศ
ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
“สร้างห้องสมุดเพื่อน้อง”
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
รองศาสตราจารย์ ดร.ทองอินทร์ วงศ์โสธร
เมื่อแรกริ เริ่มมี และ มุม มสธ.ในอนาคต
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
แนวทางการพัฒนางาน บริการชุมชนและส่งเสริมการใช้บริการ
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ขั้นตอนการนำ KM ไปใช้ด้านการเรียนการสอน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2554
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (2)
สื่อการสอน : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบงานห้องสมุด (1)
สื่อความรู้เบื้องต้นทาง บรรณารักษศาสตร์ ( 4 ). การดำเนินงานภายใน ห้องสมุด ห้องส มุด จะให้บริการได้ดีสมบูรณ์ ต้อง ประกอบด้วย องค์ประกอบต่อไปนี้ วัสดุห้องสมุด.
รายชื่อผลงานวิจัย และผลงานอื่น โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ในการพัฒนาการศึกษา เน้น “ ความเท่าเทียมกัน ” และ การนำ “ เทคโนโลยี ” มาใช้ใน การจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน “ ที่มีคุณภาพ สำหรับเยาวชนทุกคน ทุกพื้นที่ ”
โครงการพัฒนาห้องสมุด 3ดี
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
โครงการพัฒนา ห้องเรียนในฝัน
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประเมินผล เน้นการนำไปใช้ ให้นักเรียนสามารถ Apply สิ่งที่เรียนไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
สรุปผลการปฏิบัติงาน กศน.ตำบลไทยสามัคคี.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
1. ความไม่ปกติและความปกติ ความปกติความปกติ ไม่ปกติไม่ปกติ สภาพที่เป็นตามที่เคยเป็น, ทำ อยู่เป็นประจำเป็นปกติ ทำตามที่คนอื่นทำ / เป็น, ระเบียบวิธีการตามปกติ
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
“หนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน” 921 โรงเรียน
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
สำนักงานแรงงานจังหวัดยะลา
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บรรยายพิเศษ นโยบายและทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน. โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.

นโยบายและจุดเน้น การดำเนินงาน กศน. ปีงบประมาณ 2554 1. ด้านการศึกษานอกระบบ 1.1 ส่งเสริมการรู้หนังสือ 1.2 การศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.3 การศึกษาต่อเนื่อง 1.4 การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน 1.5 การประกันคุณภาพ สถานศึกษา 1.6 การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ 1.7 การศึกษาทางไกล

2. ด้านการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 การส่งเสริมการอ่าน - พัฒนาความสามารถในการอ่านของประชาชน - ส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่าน - ส่งเสริมให้มีบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่าน 2.2 พัฒนาห้องสมุดประชาชน - ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ขยายการให้บริการ - จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่หลากหลาย 2.3 ส่งเสริมวิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา

สภาพและภารกิจของห้องสมุดประชาชน กศน. 1. เป็นห้องสมุดของสถานศึกษา กศน. ให้บริการแก่นักศึกษา กศน. บุคลากร กศน. และประชาชนทั่วไป 2. มุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน. (ระดับจังหวัด) ให้บริการแก่ นักศึกษา มสธ. และประชาชนทั่วไป

แนวทางการพัฒนาห้องสมุดประชาชน กศน. 1. พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพการให้บริการ - เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ - สื่อ - พัฒนาบุคลากร 2. ขยายการให้บริการเชิงรุก - ห้องสมุดประชาชนอำเภอ - กศน.ตำบล - มุมหนังสือประจำหมู่บ้าน / ชุมชน - ห้องสมุดเคลื่อนที่

สภาพทั่วไป มุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน แหล่งข้อมูล จากการสำรวจโดยการสัมภาษณ์ / เขียนรายงานของบรรณารักษ์ เจ้าหน้าที่ห้องสมุด จำนวน 10 แห่ง เชียงใหม่ เชียงราย น่าน สิงห์บุรี ปทุมธานี นครปฐม เพชรบุรี ตราด สงขลา นราธิวาส

1. สภาพผู้ใช้บริการ 1.1 มีผู้ใช้บริการวันละประมาณ 10 – 40 คน 1.2 กลุ่มผู้ใช้บริการ - นักศึกษา มสธ. - นักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ - ครู อาจารย์ - ประชาชนทั่วไป - นักเรียน นักศึกษา ขั้นพื้นฐาน

2. สภาพสื่อ 3. สภาพชั้นวางสื่อ 2.2 ขนาดของหนังสือ (ส่วนใหญ่เกินมาตรฐาน 2.1 สื่อ จำนวน / เก่า / ใหม่ 2.2 ขนาดของหนังสือ (ส่วนใหญ่เกินมาตรฐาน 2.3 เทปเสียง / แผ่น DC / DVD 2.4 แบบฝึกหัด 2.5 ระบบข้อมูลทะเบียน / มสธ. / กศน. (PLS) 3. สภาพชั้นวางสื่อ 3.1 ชั้นเหล็กที่ มสธ. จัดให้ 3.2 ชั้นที่ห้องสมุดจัดหาเอง

4. สภาพการให้บริการ 5. สภาพบุคลากร 4.1 อ่าน / ค้นคว้าภายในห้องสมุด 4.2 ยืมไปอ่าน / ค้นคว้านอกห้องสมุด 4.3 การประชาสัมพันธ์ / การรับสมัครนักศึกษา มสธ. 4.4 การดูแลรักษา / ซ่อมหนังสือ 5. สภาพบุคลากร 5.1 บรรณารักษ์ / เจ้าหน้าที่ห้องสมุด 5.2 อาสาสมัคร

ทิศทางการพัฒนามุม มสธ. ในห้องสมุดประชาชน กศน. 1. พัฒนาสื่อ ทั้งสื่ออิเลคทรอนิกส์ และสิ่งพิมพ์ 2. เพิ่มปริมาณสื่อ 3. ขยายการให้บริการ - ห้องสมุดประชาชนอำเภอ - กศน.ตำบล 4. พัฒนาบุคลากร