ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ปฏิบัติการขับเคลื่อน ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
สรุปประเด็นการบรรยายของวิทยากร
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
หลักการและแนวปฏิบัติ รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
มาตรฐานวิชาชีพครู.
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การเลือกโรงเรียน สำหรับบุตรหลาน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาประเทศไทย
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การพัฒนา หลักสูตร ชุมชน. สามารถจัดทำ หลักสูตร ชุมชนได้
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
ความเป็นครู.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์

รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ. ทิศทางการศึกษา ค้นคว้า วิจัยและพัฒนา ทางสังคมศาสตร์ จากปี 2006 สู่อนาคต รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.

ประเด็นคัดสรรเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาวะแวดล้อม ทิศทางของประเทศ การวิจัย กับ การก้าวสู่วิทยฐานะ : เงื่อนไขปัจจุบัน การวิจัยในกระบวนการพัฒนางานเชิงระบบ : ตามหลักวิชา การวิจัยเพื่อตอบสนองหลักสูตร : ตามหลักสูตร 2544 การวิจัยและพัฒนา การวิจัยเชิงประเมิน สรุปทิศทางการวิจัย ในอนาคต ซักถาม ติดต่อ

ทิศทางการตัดสินใจในระดับประเทศ ปัญหาทรัพยากร สิ่งแวดล้อม การพัฒนาคน สารสนเทศ จากการศึกษา ค้นคว้า วิจัย Best Practice การตัดสินใจ ของประเทศ การพัฒนาครอบครัว ชุมชน สังคม ระบบการเมือง การปกครอง ปัญหาเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง

เน้นเศรษฐกิจ รายได้ สังคมทุนนิยม ทิศทางประเทศ เน้นเศรษฐกิจ รายได้ สังคมทุนนิยม เน้นความพอเพียง ความมั่นคงทางสังคม มีภูมิคุ้มกัน R&D เน้นความพอเพียง ความสุขในชีวิต สังคมแห่งการเอื้ออาทร

สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ไทย คณิต สังคม วิทย์ การงาน ศิลปะ พลานามัย ภาษา อ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน สื่อความ ปั๊มตรา ทีละดวง กิจกรรม1 กิจกรรม2 กิจกรรม3 ซื่อสัตย์ มีวินัย กตัญญู จิต สาธารณะ ใฝ่รู้ สุนทรียะ สุขนิสัย .......ฯลฯ

1. ด้านความรู้ ความคิด/ด้านพุทธิพิสัย.. ( Cognitive Domain) เป้าหมายการพัฒนาคน 1. ด้านความรู้ ความคิด/ด้านพุทธิพิสัย.. ( Cognitive Domain) 2. ด้านความรู้สึก อารมณ์ สังคม/ด้านจิตพิสัย.. ( Affective Domain ) 3. ด้านทักษะปฏิบัติ/ทักษะพิสัย…. ( Psychomotor Domain ) 4. ด้านทักษะการจัดการ/ทักษะกระบวนการ.. ( Management Skill)

เรียนจากสิ่งแวดล้อม/สื่อของจริง ประยุกต์ใช้ความรู้ในการดำรงชีพ คือ...การเรียนรู้ที่แท้จริง Community based Learning

นี่คือ..โรงเรียนยอดเยี่ยม พัฒนานักเรียน เป็นเลิศ เก่ง เก่ง ปานกลาง ปานกลาง อ่อน นี่คือ..โรงเรียนยอดเยี่ยม

แหล่งเรียนรู้ บ้าน ในโรงเรียน กิจกรรมชุมนุม ห้องเรียน ชุมชน

สรุป...ทิศทางการวิจัย 2006 - 2010

กระบวนการบริหารจัดการ การส่งเสริมวิจัย สถานศึกษาจะมีการกำหนดเป้าหมายผลงานวิจัยของครู-อาจารย์ ในสถานศึกษา และกำกับติดตาม/ตรวจสอบ อย่างจริงจังมากขึ้น ปฏิทินการส่งเสริมการวิจัยในสถานศึกษาจะปรากฏให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม มากขึ้น องค์กรวิชาชีพ/นักวิชาการอิสระ/สถาบันอุดมศึกษาในท้องถิ่น จะร่วมมือส่งเสริม สนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของครูคนในสังคม อย่างจริงจังมากขึ้น เกิดหลักสูตรฝึกอบรมที่หลากหลาย หลากรูปแบบ การทำงานในระบบเครือข่ายองค์กรเพื่อสนับสนุนการวิจัยจะมีบทบาทมากขึ้น การบริหารโครงการวิจัยในรูปแบบของชุดโครงการวิจัยมีมากขึ้น การสัมมนา เสนอผลงานวิจัย จะปรากฏมากขึ้น ฯลฯ

ลักษณะผลงานวิจัย ผลงานวิจัยเชิงเจาะลึกมีมากขึ้น งานวิจัยอย่างเป็นระบบมีมากขึ้น ผลงานประเภทวิจัยและพัฒนา(R&D) และงานวิจัยเชิงประเมิน(Evaluation Research) จะเกิดขึ้นอย่างแพร่หลาย การวิจัยจะมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนา ที่เหมาะกับผู้เรียนที่มีศักยภาพแตกต่างกัน จะเกิดการพัฒนานวัตกรรม สำหรับเด็กเก่ง เด็กปานกลาง เด็กอ่อนหรือเด็กกลุ่มพิเศษ แบบเฉพาะเจาะจงมากขึ้น การวิจัยและพัฒนาเพื่อการปลูกฝังคุณลักษณะที่พึงประสงค์จะปรากฏให้เห็นหลากหลาย เจาะลึก และเฉพาะเจาะจงมากขึ้น

การวิจัยและพัฒนาด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมชุมนุม หรือกิจกรรมเสริมประสบการณ์นอกห้องเรียน การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ในชุมชน จะปรากฏอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น การวิจัยและพัฒนาที่เน้นการให้ผู้ปกครอง/ชุมชน เข้ามามีบทบาทร่วมในการพัฒนาผู้เรียน จะปรากฏมากขึ้น นวัตกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ การใช้กิจกรรมโครงงาน การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง(Authentic Learning) จะมีบทบาทมากขึ้น นวัตกรรมที่เน้นการเรียนรู้หรือปฏิสัมพันธ์ผ่านจอภาพ จะมีบทบาทมากขึ้น

การวิจัยและพัฒนามาตรฐาน ตัวชี้วัด เกณฑ์คุณภาพ ครอบครัว ชุมชน สังคม หรือรูปแบบการบริหารจัดการครอบครัว สังคม ชุมชน จะปรากฏเป็นรูปธรรมมากขึ้น การวิจัยและพัฒนาที่เน้นการทำงานในระบบเครือข่าย การพัฒนาเครือข่ายองค์กร/ บุคคล จะปรากฏหลากหลายขึ้น นวัตกรรมที่เน้นการเรียนรู้หรือปฏิสัมพันธ์ผ่านจอภาพ สำหรับครอบครัว ชุมชน จะมีบทบาทมากขึ้น การวิจัยเชิงประเมินโครงการทางสังคม การประเมินโครงการทดลองนำร่องรูปแบบต่าง ๆ จะดำเนินการอย่างเป็นระบบ จริงจังมากขึ้น

การวิจัยและพัฒนา ด้านวัฒนธรรม การดำเนินชีวิต ตามบทบาทของศาสตร์ต่าง ๆ จะปรากฏอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น ศึกษาศาสตร์ วัฒนธรรมการสั่งสมความรู้ ค่านิยมใฝ่รู้ใฝ่เรียน ค่านิยมในการบริโภคข้อมูลข่าวสารในชีวิตประจำวัน การจัดการความรู้สำหรับเยาวชนในครอบครัว การจัดการศึกษาสำหรับคนในชุมชน วิทยาศาสตร์ วิถีชีวิตแบบวิทยาศาสตร์ การปรับค่านิยมในเรื่องความเชื่อที่งมงาย การใช้วิทยาศาสตร์เพื่อการดำรงชีวิต รัฐศาสตร์ การบริหารจัดการชุมชนแบบธรรมาภิบาล การสร้างโอกาสการมีส่วนร่วมของชุมชนในรูปแบบต่าง ๆ นิติศาสตร์ การสมานฉันฑ์ในชุมชน การไกล่เกลี่ยประนีประนอมในชุมชน/สังคม

สวัสดี