Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
แบบรูปและความสัมพันธ์
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
sp Hybridization ของ HC CH (Acetylene)
sp3 Hybridization of CH4 (Methane)
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
Hybridization = mixing
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
บทที่ 8 Carboxylic acids and Derivatives
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
EC411 ทฤษฏีและนโยบายการเงิน
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ...
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การลงข้อมูลแผนการสอน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ว เคมีพื้นฐาน ธาตุแทรนสิชัน และสารประกอบเชิงซ้อน
กราฟเบื้องต้น.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แผนการจัดการเรียนรู้
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การค้นในปริภูมิสถานะ
กราฟเบื้องต้น.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
1 LAN Implementation Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology Naresuan University, Phayao Campus.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ว 30131 เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี Valent Bond Theory (VBT) นายศราวุทธ แสงอุไร ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ วันที่ 31 กรกฎาคม 2552 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Valent Bond Theory (VBT) Background Electron configuration Atomic orbital s p d Covalent Form VSEPR structure พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

กระบวนการเกิดพันธะโควาเลนต์ การที่อะตอมสองอะตอมใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเกิดจากการเคลื่อนที่เข้าหากันของอะตอมทั้งสอง แล้วเกดการซ้อนเกย ของอะตอมมิกออบิตอล ลักษณะนี้เราเรียกว่า เกิดการ Overlap พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ลักษณะการ Overlap ของอะตอมมิก ออบิตอล พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การใช้ VBT ในการอธิบายการเกิดของ F2 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

เขียนภาพ รูปร่าง ออบิตอล F F เขียนอธิบายพันธะใน Cl2 ด้วย VBT z z พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การใช้ VBT ในการอธิบายการเกิดของ O2 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

เขียนภาพ รูปร่าง ออบิตอล การใช้ VBT ในการอธิบายการเกิดของ O2 O O y y z z พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

เขียนภาพ รูปร่าง ออบิตอล การใช้ VBT ในการอธิบายการเกิดของ N2 N N y y z z พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การใช้ VBT ในการอธิบายการเกิดของ BeF2 และ CH4 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

กระบวนการ Hybridization พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion electron Be ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยวในการสร้างพันธะ 2 ออบิตอล พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Hybridization sp พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Hybridization sp2 ของ BF3 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion electron Boron ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยวในการสร้างพันธะ 3 ออบิตอล พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Hybridization sp2 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การอธิบายการเกิดของ BF3 ที่มีรูปร่าง สามเหลี่ยม มุม ระหว่างพันธะ 120o รูปร่าง สามเหลี่ยม trigonal planar พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Hybridization sp3 ของ CH4 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion electron Carbon ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยวในการสร้างพันธะ 4 ออบิตอล พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Hybridization sp3 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

พิจารณามุมของแต่ละกลุ่มอิเล็กตรอน มุม ระหว่างพันธะ 109.5o รูปร่างเป็นแบบ tetrahedral พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Hybridization sp3 ของ CH4 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Hybridization ของ H2O H2O พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

ไม่ต้อง Promotion เพราะ มีอิเล็กตรอนเดี่ยวที่จะสร้างพันธะพอแล้ว พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การ Hybridization ของโมเลกุลที่มีพันธะคู่ C2H4 ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยวที่ใช้ในการสร้างพันธะ 4 อิเล็กตรอน มุมระหว่างพันธะ 120o ควร Hybridization แบบ sp2 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion และ sp2 Hybridization ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยว 4 อิเล็กตรอน พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

พิจารณาโครงสร้างของ C2H4 ที่ควรเป็น พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

C2H4 พันธะระหว่าง คาร์บอน จึงเป็น พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

การ Hybridization ของโมเลกุลที่มีพันธะสาม C2H2 ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยวที่ใช้ในการสร้างพันธะ 4 อิเล็กตรอน มุมระหว่างพันธะ 180o ควร Hybridization แบบ sp พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion และ sp Hybridization ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยว 4 อิเล็กตรอน พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

สำหรับบางโมเลกุล ที่เกินกฎออกเตต PCl5 ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยว 5 ออบิตอล พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion และ Hybridization sp3d ต้องทำ promotion electron Promotion พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion และ Hybridization sp3d พิจารณากลุ่มอิเล็กตรอนของ sp3d มี5 กลุ่มอิเล็กตรอน แบบ trigonalbipyramid Hybridization sp3d พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

sp3d pz รูปร่างโมเลกุลของ PCl5 sp3d sp3d pz sp3d pz pz sp3d sp3d pz พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

สำหรับโมเลกุลที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวบางโมเลกุล ClF3 XeF2 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion และ Hybridization sp3d ต้องการอิเล็กตรอนเดี่ยว 3 ออบิตอล Promotion พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion และ Hybridization sp3d พิจารณากลุ่มอิเล็กตรอนของ sp3d มี5 กลุ่มอิเล็กตรอน แบบ trigonalbipyramid Hybridization sp3d พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

sp3d pz รูปร่างโมเลกุลของ ClF3 sp3d sp3d sp3d pz sp3d sp3d pz พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion และ Hybridization sp3d2 SF6 ต้องทำ promotion electron เพื่อได้อิเล็กตรอนเดี่ยว 6 electron พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

Promotion และ Hybridization sp3d2 พิจารณากลุ่มอิเล็กตรอนของ sp3d2 มี6 กลุ่มอิเล็กตรอน แบบ octahedral Promotion พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

sp3d2 pz รูปร่างโมเลกุลของ SF6 pz sp3d2 sp3d2 sp3d2 pz sp3d2 sp3d2 pz พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

sp3d2 ที่มี อิเล็กรอนคู่โดดเดี่ยว IF5 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร

แหล่งอ้างอิง Martin S. Silberberg, Chemistry: The Molecular Nature of Matter and Change, McGraw-Hill Higher Education, 2004 Raymond Chang, Chemistry, Williams College, McGraw-Hill Higher Education, 2002 พันธะเคมี อ.ศราวุทธ แสงอุไร