โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น
บทที่ 2.
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพี่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เรื่อง กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขศึกษา กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพ ที่ดี
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
การพัฒนาการทางกาย ของวัยรุ่น.
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การดูแลสุขภาพเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี กลุ่ม admin ด.ญ.จิณฑ์จุฑา มะระหยก เลขที่ 6 ม.1/17 ด.ญ.ฐิติรัตน์ ตรีรัตน์ดิลกกุล เลขที่ 8 ม.1/17 ด.ญ.ธัญชนก โชคชัยชำนาญกิจ เลขที่ 13 ม.1/17 ด.ญ.ลัลน์ลลิต จิระพัฒนากุล เลขที่ 35 ม.1/17 ด.ช.เสรษฐวุฒิ คล่องแคล่ว เลขที่ 43 ม.1/17

บทที่ 1 ปัญหาและสาเหตุ จิณฑ์จุฑา หนัก 59/สูง 156 ซม./อ่อนตัว 16 /ดันพื้น 42 /ลุกนั่ง 27 /วิ่ง800ม. 5.58/ปัญหา:เริ่มอ้วนต้องลดน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์สมส่วน/สาเหตุ:กินคาร์โบไฮเดรตและไขมัน มากจนเกินไป ฐิติรัตน์ หนัก 40/สูง 156 ซม./อ่อนตัว 5/ดันพื้น 26 /ลุกนั่ง 26 /วิ่ง800ม. 4.58/ ปัญหา: สมส่วน สาเหตุ:ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ธัญชนก หนัก 40/สูง 146 ซม./อ่อนตัว 5/ดันพื้น 35 /ลุกนั่ง 33/วิ่ง800ม. 5.34/ ปัญหา:สมส่วน สาเหตุ:ทานอาหารครบ5หมู่ ลัลน์ลลิต หนัก 40/สูง 156 ซม./อ่อนตัว 10/ดันพื้น 25 /ลุกนั่ง 33/วิ่ง800ม. 6.08/ ปัญหา:สมส่วน สาเหตุ:ออกกำลังกาย และ เลือกทานอาหารที่มีประโยชน์ เสรษฐวุฒิ หนัก 41/สูง 152 ซม./อ่อนตัว 2/ดันพื้น 34 /ลุกนั่ง 39/วิ่ง800ม. 4.17/ ปัญหา:สมส่วน สาเหตุ:ทานอาหารครบ5หมู่และออกกำลังกาย

บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1.การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตในวัยรุ่น -การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย:ร่างกายของเด็กชายเมื่ออายุ  20 ปี จะมีอัตราการเจริญเติบโตที่คงที่ และเด็กหญิงเมื่ออายุ  10 – 12 ปี  อัตราการเจริญเติบโตจะค่อย ๆ ลดลง   -การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์: การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ=มีความคิดสุขุมรอบคอบขึ้น /การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์=วัยรุ่นจะเป็นวัยที่มีอารมณ์อ่อนไหว มีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ง่าย  2.แนวทางการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย:1.กินอาหารที่ได้รับสารอาหารครบถ้วนเพื่อให้การเจริญเติบโตเป็นปกติ 2. รับแสงแดดบ้างจะทำให้เราแข็งแรงและเจริญเติบโตตามปกติ 3. เรียนรู้ที่จะฝึกหัดและฝึกฝน โดยเฉพาะการเล่นกีฬาและการทำกิจกรรมต่างๆจะทำให้พัฒนาการของกล้ามเนื้อดีและ ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตเร็วขึ้น 3.อาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น:เนื้อสัตว์ เนื้อปลา นม ไข่ ผัก ผลไม้ ที่ควรกินหลังจากปรุงเสร็จใหม่ๆ 4.วิธีการดูแลน้ำหนักตัว:การกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ครบทุกมื้อ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 5.วิธีการสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย: ควรฝึกหรือออกกำลังกาย 3-5 วันต่อสัปดาห์ โดยให้อัตราการเต้นของหัวใจที่เป็นเป้าหมายอยู่ระหว่าง 60-90 เปอร์เซ็นต์ของอัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ

1.มอบหมายงานต่างๆให้สมาชิกในกลุ่ม 2.ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงทุกวันศุกร์ บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน 1.มอบหมายงานต่างๆให้สมาชิกในกลุ่ม 2.ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงทุกวันศุกร์ 3.ให้สมาชิกในกลุ่มจดบันทึกข้อมูลของตนเอง 4.ให้สมาชิกในกลุ่มกินอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน ชื่อ นน. ลส. ชื่อ 59/60 156/157 16/17 42/37 นน./ลส. 7/12/12 14/12/12 21/12/12 28/12/12 4/1/13 11/1/13 18/1/13 25/1/13 จิณฑ์จุฑา นน. 59/156 61/156 60/156 60/157 ฐิติรัตน์ 40/156 41/156 42/156 41/157 ธัญชนก 40/146 40/147 42/147 41/147 41/148 ลัลน์ลลิต 40/157 40/158 41/158 42/159 เศรษฐวุฒิ ลส. 41/152 41/154 43/154 42/154 43/156 ชื่อ น้ำหนัก ส่วนสูง อ่อนตัว ดันพื้น ลุกนั่ง วิ่ง 800 เมตร จิณฑ์จุฑา 59/60 156/157 16/17 42/37 27/32 5.58/5.30 ฐิติรัตน์ 40/41 5/6 26/32 26/31 4.58/4.48 ธัญชนก 146/148 5/4 35/24 33/26 5.34/5.29 ลัลน์ลลิต 40/42 156/159 10/7 25/25 33/33 6.08/5.50 เศรษฐวุฒิ 41/43 152/156 -2/1.5 34/39 39/35 4.17/4.10

สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน ผลไม่สำเร็จ = คนที่เริ่มอ้วน มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น เพราะ รับประทานแล้วไม่ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

บรรณานุกรม http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/4-5/no12/teen.html http://www.suriyothai.ac.th/th/node/424 http://main.ptpk.ac.th/mana_Online/m1/unit3/n3-2.html