การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช นสพ. นันทิรา ใสโต นสพ. พรศิริ สุธาเบญจาประดิษฐ์ นสพ. พจน์ บุณยะโอภาส นสพ. หฤทัย ลัคนาภิเศรษฐ์
หลักการและเหตุผล การสูบบุหรี่นับเป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้นทุกวัน WHO ( 2523 ) การสูบบุหรี่ทำให้มีผู้เสียชีวิตทั่วโลก 3 ล้านคนต่อปีหรือ 1 คน ต่อ 13 วินาที ทำความสูญเสียต่อผู้สูบ บุคคลรอบข้าง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
หลักการและเหตุผล (2) หลายประเทศตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและมีการร่วมมือระหว่างรัฐบาลและเอกชนในการรณรงค์เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ลง ปัจจุบันได้มีการจัดตั้งคลินิกเลิกบุหรี่ขึ้นใน โรงพยาบาลทั่วไปรวมทั้งโรงพยาบาลพุทธชินราช
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการดำเนินงานของคลินิกเลิกบุหรี่ เพื่อศึกษาถึงมาตรฐานและรูปแบบการดำเนินงานที่ทางคลินิกนำมาใช้ เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่ทำให้ ผู้มารับบริการเลิกบุหรี่ไม่สำเร็จ เพื่อศึกษาถึงทัศนคติของผู้มารับบริการ
คำถามการวิจัย “ ผลการดำเนินงานของคลินิกเลิกบุหรี่ คำถามหลัก “ ผลการดำเนินงานของคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราชเป็นอย่างไร ”
คำถามการวิจัย(2) คำถามรอง 1. คลินิกเลิกบุหรี่มีวัตถุประสงค์อย่างไรและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์นั้นได้หรือไม่ 2. คลินิกเลิกบุหรี่มีมาตรฐานและรูปแบบการดำเนินการเป็นอย่างไร 3. ผู้ที่มารับบริการที่ไม่สามารถเลิกบุหรี่ได้สำเร็จเพราะเหตุใด
คำถามการวิจัย (3) 4. วิธีการใดที่ทำให้ผู้มารับบริการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ 5. ความคิดเห็นและทัศนคติของผู้มารับบริการต่อคลินิกเลิกบุหรี่เป็นอย่างไร
ทบทวนวรรณกรรม Smoking cessasion โดย Prof. Sean Hilton , NHS center The university of York 1998
กรอบแนวคิดการวิจัย Smoking cessation clinic Success Unsucess Individual counseling NRT Group counseling Success Unsucess
Definition ผู้เลิกสูบบุหรี่ หมายถึง ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่เลย เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดือน ( ตามคำนิยามของคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช)
ระเบียบวิธีการวิจัย Observational study Descriptive study Retrospective study
Target Populations Non-probabilistic sampling Inclusion criteria : ผู้มารับบริการคลินิกเลิกบุหรี่ตั้งแต่ มิ.ย. - ก.ย.รวมระยะเวลา 4 เดือน จำนวน 72 ราย
ระยะเวลา 3 สัปดาห์ ( 22 ก.พ. - 15 มี.ค. 2545 )
ตารางที่ 1 จำนวนผู้มารับบริการ
ผลการดำเนินงาน จำนวนผู้เลิกบุหรี่ได้ 19 ราย จากทั้งหมด 72 ราย คิดเป็น 26.39 % จากการติดตามผลวันที่ 13 มี.ค.45 17 รายเลิกสูบได้, 2 ราย ติดต่อไม่ได้ วิธีการที่ได้ผลมากที่สุดคือ การทำกิจกรรมกลุ่ม 63.16 % 36.84 % ของผู้ที่เลิกได้ใช้ระยะเวลาในการเลิกบุหรี่ 4 เดือน
ตารางที่ 2 มาตรฐานคลินิก ตารางที่ 2 มาตรฐานคลินิก
ตารางที่ 3 สาเหตุที่เลิกสูบไม่ได้
สาเหตุที่ทำให้ผู้มารับบริการกลับไปสูบบุหรี่อีก
ตารางที่ 4 วิธีการที่ใช้
แผนภูมิแท่งแสดงวิธีการที่ใช้เทียบกับผู้ที่เลิกได้
ตารางที่ 5 ทัศนคติ / ความคาดหวัง
ตารางที่ 6 ระยะเวลาที่ใช้ในการเลิกบุหรี่ ตารางที่ 6 ระยะเวลาที่ใช้ในการเลิกบุหรี่
แผนภูมิแท่งแสดงระยะเวลาที่ใช้ในการเลิกบุหรี่
ตารางที่ 7 อายุของผู้เข้ารับบริการ
แผนภูมิแท่งแสดงอายุผู้เข้ารับบริการ
วิจารณ์ผลการวิจัย ระยะเวลาจำกัด และ ข้อมูลมีจำนวนน้อยเกินไป ที่จะสรุปผลการดำเนินงานของคลินิกทั้งหมด วิธีที่ใช้ในการเลิกบุหรี่ที่ได้ผลมากที่สุดแตกต่าง จากคลินิกเลิกบุหรี่ของต่างประเทศ ไม่มีสถานที่และเจ้าหน้าที่สำหรับคลินิกเลิกบุหรี่ โดยตรง
ข้อเสนอแนะ ควรมีสถานที่และบุคลากรประจำ มีการขยายขอบเขตการดำเนินงาน หาแนวทางการเพิ่มรายรับ เพิ่มการประชาสัมพันธ์
T H E N D