โปรดอ่านคู่มือนี้อย่างละเอียดและเก็บไว้ใกล้มือ เพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มรักษ์ Com Sci คำขวัญ เทคโนโลยีก้าวหน้า 5ส ก้าวไกล.
Advertisements

พี่ๆน้องๆทุกท่าน แจ้งเพื่อทราบและปฏิบัติค่ะ
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
โครงการธนาพัฒน์เฮ้าส์ 1. เฝ้าระวังเตรียมความพร้อมจัดเตรียมกระสอบทราย และอุปกรณ์ จำเป็นป้องกันเบื้องต้นในทุกโครงการ ควบคุมระบบสาธารณูปโภค ที่สำคัญ คือระบบไฟฟ้า.
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
รายชื่อผู้ศึกษาดูงาน
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
มาตรการการจัดเก็บกุญแจสำรอง
ระเบียบและขั้นตอนการขอดูภาพย้อนหลัง CCTV
วาตภัย.
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
พายุ แกมี ได้สลายตัวเป็นร่องความกดอากาศต่ำ และยังคงพาดผ่านจังหวัดเพชรบุรี ส่งผลให้มีฝนตกถึงวันที่ 10 ตค. 55 สำหรับพายุที่ก่อตัวขึ้นใหม่มีทิศทางเคลื่อนตัวไปทิศเหนือ.
ภก. ปรมินทร์ วีระอนันตวัฒน์
โครงการ น้ำดื่มสะอาดปลอดภัย ในโรงเรียน
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ประชุมชี้แจง แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม วันที่ 22 กันยายน 2552 ณ ห้องประชุม 200 โดย นายประสงค์ ประยงค์เพชร.
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
หัวข้อวิชา “งานศูนย์ปฏิบัติการสถานีตำรวจ”
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง กำหนดขนาด จำนวน และคุณภาพของเครื่องดับเพลิงสำหรับรถที่ใช้ในการขนส่งสัตว์หรือสิ่งของ ลักษณะ 4 (รถบรรทุกวัสดุอันตราย) พ.ศ.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบแจ้งการเกิดอุบัติภัยร้ายแรง หรือการประสบอันตรายจากการทำงาน พ.ศ ลงวันที่ 19 กันยายน 2554.
แก้คำผิด กฎกระทรวงการเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้นและการเป็นหน่วยงานฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
ศูนย์เฝ้าระวังการเจ็บป่วยจากความร้อน รพ.พระมงกุฎเกล้า
สรุปงานหอผู้ป่วย แผนผังอัคคีภัย
ลิฟต์.
เหตุการณ์จำลองกรณีเกิดแผ่นดินไหว
อุตสาหกรรมผลิต ประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิคส์ - ไฟฟ้า
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
นางสาวศิรินทิพย์ อินทรภาษิต
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
การจัดการสถานการณ์ในภาวะวิกฤติ เพื่อรองรับการชุมนุมประท้วง
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
The paris พระรามเก้า - รามคำแหง การเตรียมพร้อมรับมือการเกิดอุทกภัย ปี 2555.
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
รายงานผลการปฏิบัติงาน ของทีม DMAT ณ จังหวัดสงขลา วันที่ 3-7 พฤศจิกายน 2553 (Disaster Medical Assistant Team) จังหวัดภูเก็ต.
โครงการประหยัดพลังงานไฟฟ้าแสงสว่างภายในห้องน้ำอาคารบริหาร คณะศิลปศาสตร์ โดย นายวุฒิชัย บุญแท้
น้ำท่วม 2554.
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
โครงสร้างระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
ข้อสั่งการ ของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเตรียมความพร้อมรองรับ สถานการณ์น้ำท่วม 1. การป้องกันสถานที่ / ตรวจตรา / ซ่อมสร้าง ความเข้มแข็งของแนวป้องกัน.
“หนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน” 921 โรงเรียน
ภัยจากเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรของหน่วยงาน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
ศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย การพัฒนา องค์กร ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินจากสาธารณภัย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรดอ่านคู่มือนี้อย่างละเอียดและเก็บไว้ใกล้มือ เพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อการแจ้งเหตุ ที่ปรึกษา... ผศ.ดร.สกลวรรณ ประพฤติบัติ ผู้จัดทำ... วิภาดา บุญส่งแท้ อรัญญา อินทโชติ พิพัฒน์ สนั่นนาม คู่มือฉบับกระเป๋า การเตรียมการป้องกันเหตุฉุกเฉินและการอพยพ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ใส่ภาพ/รูป คู่มือเล่มนี้จะช่วยให้ท่านทราบข้อมูลและวิธีการ ปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัย และ ขั้นตอนการอพยพ ตลอดจนข้อมูลในการติดต่อ เพื่อแจ้งเหตุและขอความช่วยเหลือ โปรดอ่านคู่มือนี้อย่างละเอียดและเก็บไว้ใกล้มือ เพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน ข้อมูลจาก ศูนย์การจัดการด้านพลังงานสิ่งแวดล้อมความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่โทรศัพท์ 0-5596-3603 /0-5596-3631 E-mail address : aranya_in@hotmail.com annwiphada@gmail.com นายบุญเจิด บุญวังแร่ สายใน 3708 มือถือ (08-8146-8735) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 6 นายสมเกียรติ ใจพันธุ์ สายใน 3632 มือถือ (08-6930-6551) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 5 นายเชื้อน ทิมเครือจีน สายใน 3623 มือถือ (08-9436-8486) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 4 นายกิตติ ปานมณี สายใน 3624 มือถือ (08-1596-0695) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 3 นายปาน สถานทุง สายใน 3624 มือถือ (08-9644-0695) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 2 นายพิพัฒน์ สนั่นนาม สายใน 3635 มือถือ (08-680-0510) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 1 นายปวรวรรชร์ ทองคำ สายใน 3709 มือถือ 08-1680-3862 รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าสำนักงาน คณะเภสัชศาสตร์ สายใน 3697 สายนอก 0-5596-3697 เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย สายใน 8010 สายนอก 0-5596-8010 งานอาคารสถานที่ สายใน 5127,5666,5777 สายนอก 0-5596-5127 ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร 0-5525-8622 หน่วยรักษาความปลอดภัยประจำ มหาวิทยาลัยนเรศวร 0-5522-6396 องค์การบริหารส่วนตำบลท่าโพธิ์ 0-5526-1800 สถานีตำรวจชุมชน 199 สถานีดับเพลิง 191 เหตุด่วนเหตุร้าย หมายเลขโทรศัพท์ หน่วยงาน

ข้อควรปฏิบัติกรณีฉุกเฉิน(เกิดอัคคีภัย)ดังนี้ 1. ฟังข้อมูลด้วยความสงบ 2. ปิดและล็อคหน้าต่างและประตูด้านนอกอาคารทั้งหมด 3. ปิดพัดลม เครื่องปรับอากาศและเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด 4. ใช้ผ้าชุบน้ำให้เปียก อุดตามขอบประตูหน้าต่างและท่อ ระบายอากาศ 5. เตรียมของใช้จำเป็นในกรณีฉุกเฉินติดตัว เช่น ไฟฉาย 6. ตรงไปยังจุดรวมพล ตามเส้นทาง (  ) 7. ฟังประกาศเพื่อปฏิบัติตามขั้นตอน เพื่อความปลอดภัยใน กรณีฉุกเฉิน และอยู่บริเวณจุดรวมพลจนกว่าประกาศแจ้ง สถานการณ์ปกติ 8. หากเกิดเหตุฉุกเฉินเนื่องจากสารเคมี ควรใช้บริเวณที่สูงกว่า ชั้นล่างเป็นศูนย์หลบภัยเพราะสารเคมีบางชนิดจะหนักกว่า อากาศและจะตกลงบนชั้นล่างสุด  

ขั้นตอนการ อพยพหนีภัย ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อประสบเหตุเพลิงไหม้ ประชาสัมพันธ์ประกาศพร้อมกดสัญญาณ ขั้นตอนการ คณบดี/ผู้ประสานงานระงับเหตุฉุกเฉิน สั่งให้ทีมงานค้นหา เจ้าหน้าที่ระงับเหตุ ฯ รายงานผลให้คณบดี/ผู้ประสานงานระงับเหตุฯ ทราบ คณบดี/รองคณบดี ดำเนินการอพยพคนออกจากพื้นที่ ผู้นำทางถือธงเพื่อนำนิสิตและบุคลากร ออกจากพื้นที่ ตามเส้นทางอพยพ ผู้นำทางถือธงพานิสิตและบุคลากรไปที่จุดรวมพล 1,2,3 เจ้าหน้าที่ประจำอาคาร ตรวจสอบ จำนวนคน ตรวจสอบจำนวนคนครบ อพยพหนีภัย ตรวจสอบจำนวนคนไม่ครบ คณบดี/ผู้ประสานงานระงับเหตุ ฯ ประกาศแจ้งให้นิสิตและบุคลากร กลับเข้าอาคาร คณบดี/ผู้ประสานงานระงับเหตุ ฯ สรุปและรายงานผลผู้บริหารชั้นสูง ผู้ประสบเหตุเพลิงไหม้เก็บข้อมูล ระบุวัสดุต้นเพลิง ลักษณะของการเกิดเพลิงไหม้ และข้อมูลด้าน อาคารสถานที่ โทรแจ้งเจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินฯ ประเมินสถานการณ์ สามารถ ดับเอง ดำเนินการดับเอง ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อประสบเหตุเพลิงไหม้ ไม่ สามารถ ดับเองได้ รายงานคณบดี แจ้งหน่วยงานสนับสนุน/ช่วยเหลือภายนอกและโรงพยาบาล แจ้งคณบดี/รองคณบดีและผู้ประสานงานระงับเหตุฉุกเฉิน ดำเนินการอพยพ ประสานกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับตามแบบฟอร์มรายงานอุบัติเหตุ และเหตุฉุกเฉินต่อคณบดี/ผู้บริหารชั้นสูง คณบดี/ผู้ประสานงานระงับเหตุฯ สรุปและจัดทำรายงานนำเสนอผู้บริหาร

2 อาคาร 3 อาคาร 5 อาคาร 4 อาคาร 2 อาคาร 6 3 1 อาคาร 1 ประตูทางลงชั้น 1 ปิด เส้นทางจุดรวมพล บริเวณจุดรวมพล 1,2,3 ถังดับเพลิง อาคาร 1 อาคาร 2 อาคาร 6 อาคาร 3 อาคาร 4 อาคาร 5 เส้นทางการอพยพการหนีไฟ กริ่งสัญญาณเตือนไฟไหม้ บริเวณที่จอดรถ หลังอาคาร 5 จุดรวมพล บริเวณที่จอดรถ หน้าอาคาร 2 1 2 3 บริเวณที่จอดรถหน้าธนาคาร ฯ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา