โปรดอ่านคู่มือนี้อย่างละเอียดและเก็บไว้ใกล้มือ เพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อการแจ้งเหตุ ที่ปรึกษา... ผศ.ดร.สกลวรรณ ประพฤติบัติ ผู้จัดทำ... วิภาดา บุญส่งแท้ อรัญญา อินทโชติ พิพัฒน์ สนั่นนาม คู่มือฉบับกระเป๋า การเตรียมการป้องกันเหตุฉุกเฉินและการอพยพ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ใส่ภาพ/รูป คู่มือเล่มนี้จะช่วยให้ท่านทราบข้อมูลและวิธีการ ปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินหรืออุบัติภัย และ ขั้นตอนการอพยพ ตลอดจนข้อมูลในการติดต่อ เพื่อแจ้งเหตุและขอความช่วยเหลือ โปรดอ่านคู่มือนี้อย่างละเอียดและเก็บไว้ใกล้มือ เพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน ข้อมูลจาก ศูนย์การจัดการด้านพลังงานสิ่งแวดล้อมความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่โทรศัพท์ 0-5596-3603 /0-5596-3631 E-mail address : aranya_in@hotmail.com annwiphada@gmail.com นายบุญเจิด บุญวังแร่ สายใน 3708 มือถือ (08-8146-8735) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 6 นายสมเกียรติ ใจพันธุ์ สายใน 3632 มือถือ (08-6930-6551) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 5 นายเชื้อน ทิมเครือจีน สายใน 3623 มือถือ (08-9436-8486) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 4 นายกิตติ ปานมณี สายใน 3624 มือถือ (08-1596-0695) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 3 นายปาน สถานทุง สายใน 3624 มือถือ (08-9644-0695) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 2 นายพิพัฒน์ สนั่นนาม สายใน 3635 มือถือ (08-680-0510) เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร 1 นายปวรวรรชร์ ทองคำ สายใน 3709 มือถือ 08-1680-3862 รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าสำนักงาน คณะเภสัชศาสตร์ สายใน 3697 สายนอก 0-5596-3697 เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย สายใน 8010 สายนอก 0-5596-8010 งานอาคารสถานที่ สายใน 5127,5666,5777 สายนอก 0-5596-5127 ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร 0-5525-8622 หน่วยรักษาความปลอดภัยประจำ มหาวิทยาลัยนเรศวร 0-5522-6396 องค์การบริหารส่วนตำบลท่าโพธิ์ 0-5526-1800 สถานีตำรวจชุมชน 199 สถานีดับเพลิง 191 เหตุด่วนเหตุร้าย หมายเลขโทรศัพท์ หน่วยงาน
ข้อควรปฏิบัติกรณีฉุกเฉิน(เกิดอัคคีภัย)ดังนี้ 1. ฟังข้อมูลด้วยความสงบ 2. ปิดและล็อคหน้าต่างและประตูด้านนอกอาคารทั้งหมด 3. ปิดพัดลม เครื่องปรับอากาศและเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด 4. ใช้ผ้าชุบน้ำให้เปียก อุดตามขอบประตูหน้าต่างและท่อ ระบายอากาศ 5. เตรียมของใช้จำเป็นในกรณีฉุกเฉินติดตัว เช่น ไฟฉาย 6. ตรงไปยังจุดรวมพล ตามเส้นทาง ( ) 7. ฟังประกาศเพื่อปฏิบัติตามขั้นตอน เพื่อความปลอดภัยใน กรณีฉุกเฉิน และอยู่บริเวณจุดรวมพลจนกว่าประกาศแจ้ง สถานการณ์ปกติ 8. หากเกิดเหตุฉุกเฉินเนื่องจากสารเคมี ควรใช้บริเวณที่สูงกว่า ชั้นล่างเป็นศูนย์หลบภัยเพราะสารเคมีบางชนิดจะหนักกว่า อากาศและจะตกลงบนชั้นล่างสุด
ขั้นตอนการ อพยพหนีภัย ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อประสบเหตุเพลิงไหม้ ประชาสัมพันธ์ประกาศพร้อมกดสัญญาณ ขั้นตอนการ คณบดี/ผู้ประสานงานระงับเหตุฉุกเฉิน สั่งให้ทีมงานค้นหา เจ้าหน้าที่ระงับเหตุ ฯ รายงานผลให้คณบดี/ผู้ประสานงานระงับเหตุฯ ทราบ คณบดี/รองคณบดี ดำเนินการอพยพคนออกจากพื้นที่ ผู้นำทางถือธงเพื่อนำนิสิตและบุคลากร ออกจากพื้นที่ ตามเส้นทางอพยพ ผู้นำทางถือธงพานิสิตและบุคลากรไปที่จุดรวมพล 1,2,3 เจ้าหน้าที่ประจำอาคาร ตรวจสอบ จำนวนคน ตรวจสอบจำนวนคนครบ อพยพหนีภัย ตรวจสอบจำนวนคนไม่ครบ คณบดี/ผู้ประสานงานระงับเหตุ ฯ ประกาศแจ้งให้นิสิตและบุคลากร กลับเข้าอาคาร คณบดี/ผู้ประสานงานระงับเหตุ ฯ สรุปและรายงานผลผู้บริหารชั้นสูง ผู้ประสบเหตุเพลิงไหม้เก็บข้อมูล ระบุวัสดุต้นเพลิง ลักษณะของการเกิดเพลิงไหม้ และข้อมูลด้าน อาคารสถานที่ โทรแจ้งเจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินประจำอาคาร เจ้าหน้าที่ระงับเหตุฉุกเฉินฯ ประเมินสถานการณ์ สามารถ ดับเอง ดำเนินการดับเอง ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อประสบเหตุเพลิงไหม้ ไม่ สามารถ ดับเองได้ รายงานคณบดี แจ้งหน่วยงานสนับสนุน/ช่วยเหลือภายนอกและโรงพยาบาล แจ้งคณบดี/รองคณบดีและผู้ประสานงานระงับเหตุฉุกเฉิน ดำเนินการอพยพ ประสานกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับตามแบบฟอร์มรายงานอุบัติเหตุ และเหตุฉุกเฉินต่อคณบดี/ผู้บริหารชั้นสูง คณบดี/ผู้ประสานงานระงับเหตุฯ สรุปและจัดทำรายงานนำเสนอผู้บริหาร
2 อาคาร 3 อาคาร 5 อาคาร 4 อาคาร 2 อาคาร 6 3 1 อาคาร 1 ประตูทางลงชั้น 1 ปิด เส้นทางจุดรวมพล บริเวณจุดรวมพล 1,2,3 ถังดับเพลิง อาคาร 1 อาคาร 2 อาคาร 6 อาคาร 3 อาคาร 4 อาคาร 5 เส้นทางการอพยพการหนีไฟ กริ่งสัญญาณเตือนไฟไหม้ บริเวณที่จอดรถ หลังอาคาร 5 จุดรวมพล บริเวณที่จอดรถ หน้าอาคาร 2 1 2 3 บริเวณที่จอดรถหน้าธนาคาร ฯ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา